คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 33: ของประทานทางวิญญาณแห่งการรักษาการพูดภาษา การพยากรณ์ และการเล็งเห็นวิญญาณ


บทที่ 33

ของประทานทางวิญญาณแห่งการรักษาการพูดภาษา การพยากรณ์ และการเล็งเห็นวิญญาณ

“ไม่ปีใครเป็นผู้ปฏิบัติศาสนกิจของพระเยซูคริสต์ได้หากเขาไม่ปีประจักษ์พยานในพระเยซู และนี่คือวิญญาฌแห่งการพยากรณ์”

จากชีวิตของโจเซฟ สมิธ

ห ลังจากช่วงเวลาสั้นๆ ของการลี้ภัยอยู่ในควินซี อิลลินอยส์ ในช่วงเดือน แรกๆ ของปี ค.ศ. 1839 สิทธิชนเริ่มย้ายขึ้นเหนือ 50 ไมล์ไปยังถิ่นฐานคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์ หลังจากรอดพ้นจากการถูกจองจำในมิสซูรี ศาสดาเริ่มซื้อที่ดิน ในคอมเมิร์ซและบริเวณโดยรอบไจ้เป็นสถานที่รวมผู้คนหลายพันคนที่หนืออก จากมิสซูรีและต้องการสถานที่สร้างชีวิตใหม่ ราวเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1839 สิทธิชนหลายร้อยคนพักอยู่ในกระโจมและเกวียนทางฝืงตะวันออกของแม่นํ้า มิสซิสซิปปีในคอมเมิร์ซ ส่วนคนอื่นๆ พบที่หลบภัยในค่ายทหารร้างทางฝั่งตรง ข้ามของแม่นํ้าในเนืองมอนโทรส รัฐไอโอวา ในบ้านใหม่แห่งนี้ สิทธิชนห่างานแผ้วถางและระบายนํ้าออกจากที่ดินอันเป็นหนองบึงใกล้แม่นํ้า สมาชิก ศาสนาจักรจำนวนมากถูกยุงลัดและล้มป่วยต้วยมาลาเรียและโรคอื่นๆ สิทธิชน บางคนเสียชีวิต หลายคนเกือบเสียชีวิต โจเซฟกับเอ็มมา สมิธพาหลายคนเข้า มาพยาบาลในบ้านไบ้ซุงของพวกท่านจนศาสดาต้องสละเตียงนอนแล้วออกไป นอนในเต็นท์นอกบ้าน

วันที่ 22 กรกฎาคม ห่ามกลางความเจ็บป่วยที่ทําให้หลายคนทุกข์ทรมาน สิทธิชนเห็นสิ่งที่เอ็ลเดอร์วิลฟอร์ด วูดรัฟพ้เรียกว่า “วันแห่งฤทธิ์เดชของพระผู้เป็นเจ้า”1 เข้าวันนั้นศาสดาลุกขึ้นร้องทูลพระเจ้าในการสวดอ้อนวอน และโดย ที่เปี่ยมต้วยพระวิญญาณของพระเจ้าห่านไต้ใบ้พรคนป่วยในบ้านของท่าน ใน ลานนอกบ้าน และริมแม่นั้า ห่านข้ามนั้าไปเยี่ยมบ้านของบริลัม ยังส์ ในเนือง มอนโทรสเพื่อให้พรการรักษา จากนั้นท่านลับซิดนีย์ ริกดัน บริคัม ยังท์ และ สมาชิกอัครสาวกสิบสองท่านอื่นๆ ดำเนินพันธกิจแห่งความเมตตาต่อไปอีกใน หมู่สิทธิชนไอโอวา เอ็สเตอร์วูดรัฟฟ์พูดถึงการรักษาที่พึงจดจำที่สุดครั้งหนึ่งของ วันนั้นว่า

“เราข้ามลานสาธารณะไปที่บ้านของบราเดอร์ [อีไสจา] ฟอร์ดแฮม บราเดอร์ฟอร์ดแฮมมีอาการที่ดูเหมือนใกล้จะสิ้นใจมาได้หนึ่งชั่วโมงแล้ว และเรา คิดว่าแต่ละนาทีจะเป็นนาทีสุดบ้ายของเขา ข้าพเจ้ารู้สึกถึงพลังอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าที่มีอยู่ท่วมท้นในศาสดาของพระองค์ เมื่อเราเข้าไปในบ้าน บราเดอร์ โจเซฟเดินเข้าไปหาบราเดอร์ฟอร์ดแฮม และจับมือขวาของเขา …ท่านเห็นว่า นัยน์ตาของบราเดอร์ฟอร์ดแฮมไม่มืประกาย เขาพูดไม่ออกและไม่รู้สึกตัว

“หลังจากจับมือเขา [ศาสดา] มองดูใบหน้าของชายที่จวนจะสิ้นลมหายใจ และพูดว่า ‘บราเดอร์ฟอร์ดแฮม คุณจำผมไม่ได้หรือ’ ตอนแรกเขาไม่ตอบว่า กระไร แต่เราทุกคนเห็นผลของพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้าเกิดกับเขา

“[โจเซฟ] ถามอีกว่า ‘อีไสจา คุณจำผมไม่ได้หรือ’ บราเดอร์ฟอร์ดแฮมตอบ เสียงแผ่วว่า ‘จำได้ครับ’ ศาสดาจึงถามว่า ‘คุณไม่มืศรัทธาว่าจะหายหรอกหรือ’

“ตำตอบซึ่งชัดกว่าเดิมเล็กบ้อยคือ ‘ผมเกรงว่าจะสายเกินไป ล้าท่านมาเร็ว กว่านี้ผมคิดว่า [ผม] คงจะหาย’ สภาพของเขาเหมือนคนที่เพิ่งตื่นนอน นั่น คือการนอนของความตาย โจเซฟจึงถามว่า ‘คุณไม่เชื่อหรือว่าพระเยซูคือพระคริสต์’ ‘ผมเชื่อครับ บราเดอร์โจเซฟ’ คือคำตอบ

“จากนั้นศาสดาของพระผู้เป็นเจ้าพูดด้วยเสียงอันตังเสมือนหนึ่งด้วยพระบรมเดชานุภาพของพระผู้เป็นเจ้าสามพระองค์ว่า ‘อีไสจา ข้าพเจ้าบัญชาท่าน ในพระนามของเยซูแห่งนาซาเร็ธใบ้ลุกขึ้นและหายเปีนปกติ’

“ด้อยอำของศาสดาไม่เหมือนภ้อยคำของมนุษย์ แต่เหมือนสุรเสียงของพระผู้เป็นเจ้า ดูเหมือนบ้านจะสั่นไหวตั้งแต่ฐานราก อิไลจา ฟอร์ดแฮมกระโดดลุก จากเตียงเหมือนคนที่ฟื้นจากความตาย สีหบ้ามืเลือดฝาดและชีวิตปรากฎใบ้ เห็นในทุกอิริยาบถ เบ้าของเขามืยา[แป้งข้าวโพด] พอกอยู่ เขาสะบัดเท้าจนยา กระจายเกลื่อน จากนั้นล็ขอเสื้อผ้ามาสวมใส่ ขอขนมป้งลับนมหนึ่งด้วยมารับ ประทาน แล้ว [เขา] ก็สวมหมวกเดินตามเราออกไปที่ถนนเพื่อเยี่ยมคนอื่นๆ ที่เจ็บป่วย”2

ในยามที่ด้องการความช่วยเหลืออย่างที่สุด สิทธิชนประสบกับการหลั่งเท ของประทานแห่งการรักษาด้วยมือศาสดาโจเซฟ สมิธ

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

คนป่วยอาจจะหายเป็นปกติโดยผ่านศรัทธาและการใช้พลังอำนาจฐานะปุโรหิต ตามพระประสงค์ของพระเจ้า

“อะไรคือเครื่องหมายของการรักษาคนป่วย การวางมือบนศีรษะคือเครื่อง หมายหรือวิธีที่ยากอบแสดงให้เห็น และเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของสิทธิชนสมัย โบราณตามที่พระเจ้าทรงวางระเบียบไว้ และเราจะรับพรต้วยวิธีอื่นไม่ไต้นอกอากวิธีที่พระเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว [ดู ยากอบ 5:14–15]”3

ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1839 เมื่อสิทธิชนย้ายไปอยู่เมืองคอมเมิร์ซ รัฐอิลลินอยส์ใหม่ๆ และปีความเจ็บป่วยมากมายในบรรดาพวกเขา ใจเซฟ สมิธ บันทึกดังนี้ “ความเจ็บป่วยมากมายเริ่มสำแดงให้เห็นในบรรดาพี่นีอง และใน บรรดาผู้อาศัยอยู่ที่นั่นจนสัปดาห์นี้และสัปดาห์ต่อมาหมดไปกับการเยี่ยมคนป่วย และให้พรพวกเขา บางคนมืศรัทธามากพอและหายเป็ินปกติ อีกหลายคนไม่มื …

“วันอาทิตย์ที่ 28—จัดการประชุมตามปกติ … ข้าพเจ้าพูด และเตือนสมาชิกของศาสนาจักรเป็ินรายบุคคลว่าด้องจัดห้านให้เปีนระเบียบ ทำความสะอาด ข้างในภาชนะ และประชุมกันในวันแซบัธกัดไปเพื่อรับส่วนศีลระลึก ทั้งนี้เพื่อ โดยการเชื่อฟ้งพิธีการ พระผู้เป็นเจ้าจะทรงช่วยให้เราสามารถชนะผู้ทำลายได้ และคนป่วยจะหายเป็นปกติ ส่วนใหญ่จะใช้เวลาในสัปดาห์นี้อยู่ท่ามกลางคน ป่วยซึ่งส่วนมากจะมืกําลังวังชาและสุขภาพตืดังเติม”4

“คนชอบธรรมจำนวนมากจะตกเป็นเหยื่อโรคร้าย โรคระบาด และอื่นๆ เพราะความอ่อนแอของเนื้อหนัง แต่จะรอดในอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า ต้วย เหตุนี้จึงไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะพูดว่าคนนั้นคนนี้ล่วงละเมิดเพราะพวกเขาตก เป็นเหยื่อโรคร้ายและความตาย เพราะเนื้อหนังทั้งปวงต้องตาย และพระผู้ช่วย ให้รอดตรัสว่า ‘อย่ากล่าวโทษเขา เพื่อพระเจ้าจะไม่ทรงกล่าวโทษท่าน’ [ดู มัทธิว 7:1]”5

จุดประสงค์ของของประทานแห่งการพูดภาษาคือเพื่อสอนพระกิตติคุณให้ผู้อื่น

ศาสดาพูดที่การประชุมใหญ่ของเอ็ลเดอร์ในปี ค.ศ. 1834 ดังนี้ “โจเซฟ สมิธให้คำอธิบายเกี่ยวกับของประทานแห่งการพูดภาษา ซึ่งจัดให้เป็นพิเศษเพื่อ การสั่งสอนพระกิตติคุณแก่ประชาชาติและภาษาอื่น แต่มิได้ประทานไว้เพื่อการ ปกครองศาสนาจักร”6

“เกี่ยวกับของประทานแห่งการพูดภาษาเท่าที่เราจะพูดในที่นี้ได้คือ เราได้รับ เช่นเดียวกับคนสมัยโบราณ แต่เราประสงค์จะให้ท่านระวังเกลือกในเรื่องนี้ท่าน จะถูกหลอก…ซาตานจะทำให้ท่านเดือดร้อนแน่นอนเกี่ยวกับของประทานแห่ง การพูดภาษา เว้นแต่ท่านจะระวัง เพราะท่านจะจับตาดูเขาอย่างใกล้ชิดคงไม่ไหว ทั้งจะสวดอ้อนวอนมากเกินไปคงไม่ได้ ขอพระเจ้าประทานปัญญาให้ท่าน ในทุกเรื่อง”7

“ข้าพเจ้าอ่านในหนึ่งโครินธ์บทที่ 13 [ในการประชุมเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1841] ส่วนหนึ่งของบทที่ 14 ด้วย และกล่าวว่าของประทานแห่งการพูด ภาษามีความจำเป็นในศาสนาจักร…ของประทานแห่งการพูดภาษาโดยอำนาจ ของพระวิญญาณบริสุทธี้ในศาสนาจักรมีไว้เพื่อประโยชน์ของผู้รับใช้ของพระผู้ เป็นเจ้าเพื่อสั่งสอนคนไม่เชื่อ เช่นที่สั่งสอนในวันเพ็นเทคอสต์”8

“ภาษาต่างๆ ประทานไว้เพื่อจุดประสงค์ของการสั่งสอนในหมู่คนที่ไม่มีใคร เข้าใจภาษาของพวกเขา เช่นที่เกิดขึ้นในวันเพ็นเทคอสต์ ฯลฯ และไม่จำเป็น ค้องสอนภาษาให้ศาสนาจักรเป็นพิเศษ เพราะคนใดก็ตามที่มีพระวิญญาณบรสทธิ์ คนๆ นั้นจะพูดเรื่องของพระผู้เป็นเจ้าในภาษาของเขาไค้เช่นเดียวกับใน ภาษาอื่น เพราะศรัทธามิไค้เกิดจากเครื่องหมาย แต่เกิดจากการพังพระวจนะของ พระผู้เป็นเจ้า”9

“จงอย่าอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับภาษา อย่าพูดภาษาต่างๆ เว้นแต่จะมีผู้แปล อยู่ที่นั่น ความมุ่งหมายสูงสุดของภาษาคือเพื่อพูดกับคนต่างชาติ และถ้ามีคน อยากแสดงความรอบรู้ของตน ให้เขาพูดในภาษาของเขาเอง ของประทานของ พระผู้เป็นเจ้ามีประโยชน์ไนที่ของมัน แต่เมื่อนำมาใช้กับสิ่งซึ่งพระผู้เป็นเจ้าไม่พึงประสงค์ ของประทานเหล่านั้นย่อมเป็นภัย เป็นกับดัก และเป็นการสาปแช่ง แทนที่จะเป็นพร”10

“เราเคยมีพื่น์องชายหญิงผู้ใช้ของประทานแห่งการพูดภาษาอย่างผิดๆ ค้วย พวกเขาจะพูดเสียงพึมพำและไม่เป็นธรรมชาติ ตัวเขาจะมิดเบี้ยว … ทั้งที่ไม่มี สิ่งใดแปลกประหลาดในพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า”11

“อย่าพูดค้วยของประทานแห่งการพูดภาษาโดยไม่เช้าใจหรือไม่มีการแปล มารพูดภาษาต่างๆ ไค้ ปรป้กษ์จะมาพร้อมงานของเขา เขาล่อลวงไค้ทุกชนชั้น พูดไต้ทั้งภาษาอังกฤษหรือภาษาฮอลันดา อย่าให้ใครพูดภาษาต่างๆ เว้นแต่เขา จะแปล ยกเว้นโดยความเห็นชอบของผู้ถูกกำหนดให้เป็นประธาน เมื่อถึงตอน นั้นเขาจะเล็งเห็นหรือแปลไต้ หรือจะให้อีกคนหนึ่งแปลก็ไต้”12

“หากท่านมีเรื่องต้องเปีดเผย ขอให้เปีดเผยในภาษาของท่าน อย่าใช้ของ ประทานแห่งการพูดภาษามากเกินไป มิฉะนั้นแห้วมารจะฉวยโอกาสใช้คนที่ไม่ประสีประสาและไม่ระมัดระวังให้เป็นประโยชน์ ท่านอาจจะพูดภาษาต่างๆ เพื่อ ความสบายใจของท่าน แต่ช้าพเจ้าตั้งกฎไว้ดังบี้ หากสอนเรื่องใดโดยของ ประทานแห่งการพูดภาษา จะไม่นับเรื่องนั้นเป็นหลักคำสอน”13

แม้จะมีคนเคืยวพูดในฐานะศาสดาของศาสนาจักร แต่วิญญาณแห่งการพยากรณ์ทำให้ทุกคนสามารถเป็นพยานถงพระเยซูคริสต์ได้

“ไม่มีใครเป็นผู้ปฏิบัติศาสนกิจของพระเยซูคริสต์โดยไม่เป็นศาสดา ไม่มีใคร เป็นผู้ปฏิบัติศาสนกิจของพระเยซูคริสต์ได้หากเขาไม่มีประจักษ์พยานในพระเยซู และนี่คือวิญญาณแห่งการพยากรณ์ [ดู วิวรณ์ 19:10]”14

“ยอห์นผู้เปีดเผยกล่าวว่าประจักษ์พยานในพระเยซูคือวิญญาณแห่งการพยากรณ์ [ดู วิวรณ์ 19:10] หากคนใดมีประจักษ์พยานในพระเยซู เขาไม่มีวิญญาณ แห่งการพยากรณ์หรอกหรือ และหากเขามีวิญญาณแห่งการพยากรณ์ ข้าพเจ้า ถามว่า เขาไม่ใช่ศาสดาหรอกหรือ หากเขาเปีนศาสดา เขาจะไม่ได้รับการเปีด เผยหรอกหรือ ใครก็ตามที่ไม่ได้รับการเปีดเผยด้วยตนเองคนนั้นย่อมถูกกล่าว โทษ เพราะประจักษ์พยานในพระเยซูคือวิญญาณแห่งการพยากรณ์ เพราะพระคริสต์ตรัสว่า ขอและเจ้าจะได้รับ และหากเขาบังเอิญได้รับสิ่งใด ข้าพเจ้าถาม ว่า นั่นไม่ใช่การเปีดเผยหรอกหรือ และหากคนใดไม่มีประจักษ์พยานในพระเยซู หรือวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า เขาย่อมไม่ใช่ของพระคริสต์ และหากไม่ใช่ของ พระองค์ เขาด้องถูกกล่าวโทษ”15

ผู้มาเยือนนอวูบันทึกว่าโจเซฟสมิธสอนเขาในระหว่างสนทนากันดังนี้ “ศาสดาโจเซฟ [กล่าวว่า] … เพื่อจะเป็นผู้ปฏิบัติศาลนกิจของพระเยซู คนๆ นั้นด้องเป็นพยานถึงพระเยซู และเพื่อเป็นพยานถึงพระเยซู คนๆ นั้นด้องมี วิญญาณแห่งการพยากรณ์ เพราะตามคำกล่าวของยอห์น ประจักษ์พยานในพระเยซูคือวิญญาณแห่งการพยากรณ์

“หากคนหนึ่งอ้างว่าเป็นผู้ปฏิบัติศาลนกิจของพระเยซูและไม่มีวิญญาณแห่ง การพยากรณ์ เขาจะด้องเป็นพยานเท็จแน่นอน เพราะเขาไม่มีของประทานซึ่ง ทำให้เขาคู่ควรกับตำแหน่งนั้น และความแตกต่างระหว่าง [โจเซฟ สมิธ] กับ บาทหลวงของคนรุ่นนี้คือ ท่านกล่าวว่าท่านมีวิญญาณแห่งการพยากรณ์ซึ่งทำให้ ท่านคู่ควรแก่การเป็นพยานถึงพระเยซูและพระกิตติคุณแห่งความรอด ส่วน บาทหลวงปฏิเสธวิญญาณดังกล่าว แห้วิญญาณแห่งการพยากรณ์ ซึ่งมีแต่วิญญาณนี้เท่านั้นที่จะท่าให้เขาเป็นพยานหรือสักขีพยานที่แห้จริงของพระเจ้าพระเยซู และอ้างได้ว่าเป็นผู้ปฏิบติศาสนกิจที่แห้จริงแห่งความรอด”16

“ศรัทธาเกิดจากการได้ฟ้งพระคำของพระผู้เป็นเจ้า ผ่านประจักษ์พยานของ ผู้รับใช้ของพระผู้เป็นเจ้า เพราะจะได้ประจักษ์พยานนั้นโดยพระวิญญาณแห่ง การพยากรณ์และการเปีดเผยเสมอ”17

ของประทานแห่งการเล็งเห็นวิญญาณช่วยให้คนชื่อสัตย์ สามารถแยกแยะได้ระหว่างอิทธิพลของวิญญาณสีกับวิญญาณชั่ว

ในสมัยเริ่มแรกของศาสนาจักรที่ได้รับการฟี้นฟู บางครั้งสมาชิกของศาสนาจักรจะกระทำตามอิทธิพลจากวิญญาณชั่วหรือวิญญาณเท็จเช่นเดียวกับสมาชิก ของกลุ่มศาสนาอื่น โดยเชื่อว่าพวกเขาอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระวิญญาณบริสุทธี้ ศาสดาโจเซฟ สมิธสอนดังนี้ “เหตุการณ์ไนระยะนี้ที่อุบัติขึ้นห่ามกลาง พวกเราส่งผลให้ช้าพเจ้าด้องรีบพูดบางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับวิญญาณซึ่งกระตุ้น มนุษย์ให้กระทำ

“จากงานเขียนของอัครสาวก [ในพันธสัญญาใหม่] เห็นได้ชัดว่ามีวิญญาณ เท็จมากมายอยู่ในสมัยของพวกเขา และ ‘ออกไปในโลก’ และด้องอาศัยความ รู้แจ้งซึ่งมีพระผู้เป็นเจ้าองค์เดียวเท่านั้นที่สามารถสังเกตเห็นวิญญาณเท็จได้ และพิสูจน์ว่าวิญญาณใดเปีนของพระผู้เป็นเจ้า [ดู 1 ยอห์น 4:1–4] โลกโดย ทั่วไปไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวอับสิ่งนี้ และเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น—เพราะ ‘พระดำริ ของพระเจ้าก็ไม่มีใครหยั่งรู้ได้ เว้นแต่ [โดย] พระวิญญาณของพระเจ้า’ [ดู 1 โครินธ์ 2:11.] …

“ในทุกยุคทุกสมัยดูเหมือนจะขาดความรู้แจ้งเกี่ยวอับเรื่องนี้เสมอ วิญญาณ ทุกประเภทแสดงให้เห็นมาแล้วในทุกยุคทุกสมัยและเกือบทุกคนได้เห็น… ทุกคนมีวิญญาณของเขา ทุกคนมีพลังเหนือธรรมชาติ และทุกคนแย้งว่าวิญญาณของพวกเขามาจากพระผู้เป็นเจ้า ใครจะไขความลี้สับ ยอษ์นตอบว่า ‘จง พิสูจน์วิญญาณนั้นๆ’ [1 ยอห์น 4:1] แต่ใครเล่าจะพิสูจน์ คนมีความรู้ มักพูด นืปากเอก มักปรัชญา คนสุขุม บาทหลวง—ด่างกืไม่มีใครรู้…ใครสามารถ เปีดเผยหรือส่าแดงความลี้สับแอบแฝงของวิญญาณเท็จที่ปรากฎให้เห็นบ่อยครั้ง ในหมู่สิทธิชนยุคสูดทำยได้ เราตอบว่าไม่มีใครทำได้หากไม่มีฐานะปุโรหิต และ ไม่มีความรู้เกี่ยวอับกฎซึ่งปกครองวิญญาณ เพราะ ‘พระดำริของพระเจ้าไม่มีใคร หยั่งรู้ได้เว้นแต่ [โดย] พระวิญญาณของพระเจ้า’ ฉันใด ไม่มีใครหยั่งรู้วิญญาณ ของมาร อำนาจ และอิทธิพลของเขาได้ เว้นแต่จะมีความรู้แจ้งมากกว่ามนุษย์ ฉันนั้น และเผยแผนลี้สับของมารผ่านสื่อกลางของฐานะปุโรหิต …

“มนุษย์ค้องเล็งเห็นวิญญาณก่อนจึงจะสามารถเปีดเผยอิทธิพลอันน่าชิงชังนี้ ไค้และเผยให้โลกรู้ถึงสีสันอันน่ากลัว โฉดชั่ว และทำลายจิตวิญญาณของมัน เพราะไม่มีสิ่งใดเปีนมัยต่อลูกหลานมนุษย์มากกว่าการอยู่ภายใค้อิทธิพลของวิญญาณเท็จแต่กลับคิดว่าตนมีพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า คนหลายพันคนเคย รู้สึกถึงอิทธิพลของอำนาจที่น่าหวาดกลัวและผลกระทบที่เลวร้ายของมันมาแล้ว …

“ดังที่เราทราบมาก่อนแล้ว ปัญหาใหญ่คือการไม่รู้ธรรมชาติของวิญญาณ กฎ ซึ่งปกครองวิญญาณ และเครื่องหมายซึ่งจะทำให้รู้จักวิญญาณ หากจำเป็นต้องมี พระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้าเพื่อให้รู้เรื่องของพระผู้เป็นเจ้า และเผยโฉมหน้า อันแห้จริงของวิญญาณของมารไค้โดยผ่านสื่อกลางดังกล่าว เมื่อนั้นย่อมเกิดผล ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงไค้ คือพวกเขาจะไม่รู้หลักธรรมเหล่านี้ไปชั่วนิรันดร์ เว้นแต่คนบางคนหรือหลายๆ คนจะมีการสื่อสารหรือการเปีดเผย จากพระผู้เป็นเจ้า เพื่อเผยให้เขารู้ถึงการทำงานของวิญญาณ เพราะข้าพเจ้าแย้งว่าล้าคนหนึ่งเข้าใจ สิ่งเหล่านี้ไม่ไค้นอกจากโดยพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า คนหมื่นคนย่อมเข้า ใจไม่ไค้เพราะอยู่นอกเหนือปัญญาของผู้มีความรู้ คารมของนักพูดธีเปากเอก และอำนาจของผู้มีพละกำลัง สุดห้ายเราจะต้องไค้ข้อสรุปที่ว่า ไม่ว่าเราจะนึกถึง การเปีดเผยแบบไหน หากไม่มีการเปีดเผยเราจะรู้หรือเข้าใจเรื่องของพระผู้เป็น เจ้าหรือมารไม่ไค้ และแห้ว่าโลกจะไม่ยอมรับหลักธรรมนี้ แต่จากข้อบัญญัติ หลากหลายและแนวคิดมากมายเกี่ยวกับเรื่องนี้จะเห็นไต้ชัดว่าพวกเขาไม่เข้าใจ อะไรเลยเกี่ยวกับหลักธรรมดังกล่าว และเห็นไค้ชัดพอกันว่าหากไม่มีการเปีด เผยจากสวรรค์ พวกเขาต้องอยู่ในความไม่รู้ต่อไป …

“มนุษย์ค้องมีการเล็งเห็นวิญญาณ ดังกล่าวไร้ข้างต้น จึงจะเข้าใจสิ่งเหล่านี้ และเขาจะไค้ของประทานนี้อย่างไรหากไม่มีของประทานแห่งพระวิญญาณ เขา จะไค้ของประทานเหล่านี้อย่างไรหากไม่มีการเปีดเผย ‘ครั้นพระองค์เสด็จขึ้นไป สู่ที่สูง … และประทานของประทานแก่มนุษย์ ของประทานของพระองค์ล็คือ ให้บางคนเป็นอัครทูต บางคนเป็นผู้เผยพระวจนะ บางคนเป็นผู้เผยแพร่ข่าว ประเสริฐ บางคนเป็นศิษยาภิบาล และอาจารย์’ [ดู เอเฟซัส 4:8, 11] อัครสาวก ศาสดา ศิษยาภิบาล อาจารย์ และผู้เผยแพร่ข่าวประเสริฐไค้รับเลือก อย่างไร โดยการพยากรณ์ (การเปีดเผย) และโดยการวางมือ—โดยการติดต่อ จากเบื้องบน และพิธีการที่เบื้องบนกำหนด—ผ่านสื่อกลางของฐานะปุโรหิตซึ่ง จัดตั้งตามระเบียบของพระผู้เป็นเจ้าโดยการแต่งตั้งจากเบื้องบน อัครสาวกใน สมัยโบราณถือกุญแจของฐานะปุโรหิตนี้—กุญแจไขความลี้ลับของอาณาจักร ของพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึงสามารถเปีดเผยและอธิบายได้ทุกเรื่องเกี่ยวลับ การปกครองศาสนาจักร ความผาสุกของสังคม จุดหมายในอนาคตของมนุษย์ สิทธี้เสรี อำนาจและอิทธิพลของวิญญาณ เพราะพวกเขาควบกุมวิญญาณเหล่า นั้นได้ตามที่ตนพอใจ สั่งให้ออกไปในพระนามของพระเยซู สังเกตเห็นแผน งานที่เป็นอันตรายและลี้ลับเมื่อวิญญาณเหล่านั้นพยายามหลอกลวงศาสนาจักร โดยทำทีว่าเคร่งศาสนาแต่ขัดขวางสั่งที่เปีนประโยชน์ต่อศาสนาจักรและการเผย แพร่ความจริง …

“…พระผู้ช่วยให้รอดของเรา อัครสาวก และแม้แต่สมาชิกของศาสนาจักร ล้วนได้รับของประทานนี้ เปาโลกล่าวว่า เพราะ ‘ให้อีกคนหนึ่งทำการอิทธิฤทธี้ ต่างๆ และให้อีกคนหนึ่งเผยพระวจนะได้ และให้อีกคนหนึ่งรู้จักสังเกตวิญญาณ ต่างๆ และให้อีกคนหนึ่งพูดภาษาแปลกๆ และให้อีกคนหนึ่งแปลภาษานั้นๆ ได้’ [ดู 1 โครินธ์ 12:10] ทั้งหมดนี้มาจากพระวิญญาณองค์เดียวกันของพระผู้เป็น เจ้า และเป็นของประทานจากพระผู้เป็นเจ้า…ไม่มีคนใดหรือกลุ่มใดบอกวิญญาณที่แห้จริงจากวิญญาณเท็จได้หากไม่มีสิทธิอำนาจที่ตั้งถูกด้องตามแบบแผน ฐานะปุโรหิต และการเล็งเห็นวิญญาณ”18

“วิญญาณโป้ปตจะออกมาในแผ่นดินโลก จะมีวิญญาณปรากฎให้เห็นมากมาย ทั้งวิญญาณเท็จและวิญญาณจริง…วิญญาณ หรือภาพปรากฎ หรือการร้อง เพลงทุกอย่างมิใช่ของพระผู้เป็นเจ้า…ของประทานแห่งการเล็งเห็นวิญญาณ จะให้แก่เอ็ลเดอร์ควบกุม จงสวดอ้อนวอนเพื่อให้เขามีของประทานดังกล่าว”19

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเดิมได้ที่หน์า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนเรื่องราวในหน์า 409–412 เรื่องนี้ช่วยผู้ดำรงฐานะปุโรหิตแห่งเป็ลคิเซเด็คเตรียมให้พรผู้ป่วยได้อย่างไร เรื่องนี้ช่วยเราได้อย่างไรเมื่อเราด้องการ พรฐานะปุโรหิต ท่านคิดว่าเหตุใดจึงสำคัญที่ขณะนั้นบราเดอร์ฟอร์ดแฮมจะ แสดงศรัทธาในพระคริสต์

  • อ่านทวนคำสอนของศาสดาโจเซฟในหห้า 412 ประสบการณ์ใดเคยช่วยให้ ท่านเข้าใจอำนาจของฐานะปุโรหิตในการรักษาคนป่วย หลักธรรมใดควรชี้นำ เราในการเล่าประสบการณ์เกี่ยวลับการรักษาคนป่วย เหตุใดคนบางคนจึงไม่ หายเป็นปกติทั้งที่พวกเขาใช้ศรัทธาและได้รับพรฐานะปุโรหิต

  • โจเซฟ สมิธกล่าวว่าของประทานแห่งการพูดภาษา “จัดให้เป็นพิเศษเพื่อ การสั่งสอนพระกิตติคุณแก่ประชาชาติและภาษาอื่น” (ดู หน้า 413–414) ของประทานดังกล่าวช่วยในการเผยแพร่พระกิตติคุณไปทั่วโลกอย่างไร ท่าน หรือคนรู้จักได้รับของประทานแห่งการพูดภาษาเพื่อช่วยสั่งสอนพระกิตติคุณ อย่างไร

  • อ่านทวนคำสอนของศาสดาเกี่ยวกับวิญญาณแห่งการพยากรณ์ (หน้า 415–416) การรู้ว่าสมาชิกแต่ละคนของศาสนาจักรสามารถมีวิญญาณแห่งการพยากรณ์ได้ มีความหมายต่อท่านอย่างไร

  • อ่านทวนคำสอนของศาสดาเกี่ยวกับวิญญาณแห่งการเล็งเห็น (หน้า 416–418) ของประทานแห่งการเล็งเห็นวิญญาณคืออะไร เราจะหลีกเกี่ยงการถูก อิทธิพลชั่วหลอกได้อย่างไร ศาสดาคนปัจจุบันและผู้น่าศาสนาจักรท่านอื่นๆ ช่วยให้เราเล็งเห็นอิทธิพลชั่วร้ายได้อย่างไร

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: 1 โครินธ์ 12:1–31; 14:1–6, 22–28; ยากอบ 5:14–15; โมโรไน 10:8–17; ค.พ. 46:1–33; 50:1–36, 40–44; 52:14–19

อ้างอิง

  1. Wilford Woodruff, Journals, 1833–98 ข้อมูลลําหรับ 22 ก.ค. 1839 หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนาจักร ของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท์เลคซิตี้ ยูทาห์

  2. Wilford Woodruff, “Leaves from My Journal,” Millennial Star, Oct. 17, 1881, p. 670; ปรับเปลี่ยน การแบ่งย่อหน้า

  3. History of the Church, 4:555; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 20 มี.ค. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์

  4. History of the Church, 4:3–5; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; เพิ่มตัว เอน; จาก Joseph Smith journal entries, July 8–10, 28, 1839 คอมเมิร์ซ อิลลินอยส์

  5. History of the Church, 4:11; จาก คำแนะนำของโจเซฟ สมิธเมื่อ 29 ก.ย. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย เจมส์ มูลฮอลแลนด์

  6. History of the Church, 2:162; จาก บันทึกการประชุมใหญ่ของเอ็ลเดอร์ซึ่ง จัดเมื่อวันที่ 8 ก.ย. 1834 ในนิวพอร์เทจ โอไฮโอ; รายงานโดย ออลิเวอร์ คาวเดอริ

  7. History of the Church, 1:369; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธและที่ปรึกษา ของท่านในฝ่ายประธานสูงสุดเขียนถึงพี่ น้อง’ในมิสซู่รี 2 ก.ค. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  8. History of the Church, 4:485; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 26 ธ.ค. 1841 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานเโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  9. History of the Church, 3:379; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 27 มิ.ย. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  10. History of the Church, 5:31–32; จาก “Gift of the Holy Ghost” บทความที่จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, June 15, 1842, pp. 82526; โจเซฟ สมิธเป็นบรรณาธิการวารสาร

  11. History of the Church, 4:580; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; จาก “Try the Spirits” บทความที่ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Apr. 1, 1842, p. 747; โจเซฟ สมิธ เป็นบรรณาธิการวารสาร

  12. History of the Church, 3:392; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธประมาณ ก.ค. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  13. History of the Church, 4:607; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 28 เม.ย. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย อีไลซา อาร์. สโนว์

  14. History of the Church, 3:389; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธประมาณ ก.ค. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  15. อ้างโดยเจมส์ เบอร์เกสส์ ในบทคัด ลอกที่รวบรวมจากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธ; James Burgess, Journals, 1841–48, vol. 2 หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  16. History of the Church, 5:407–8; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำ แนะนำของใจเซฟ สมิธประมาณ ม.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานใน จดหมาย Boston Bee ที่ไม่ระบุชื่อผู้ ส่ง 24 มี.ค. 1843 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, May 15, 1843, p. 200.

  17. History of the Church, 3:379; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 27 มิ.ย. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  18. History of the Church, 4:571–75, 580; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนและ ไวยากรณ์ให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการ แบ่งย่อหน้า; จาก “Try the Spirits” บทความที่จัดพิมฟ์ไน Times and Seasons, Apr. 1, 1842, pp. 74345, 747; โจเซฟ สมิธเป็นบรรณาธิการ วารสาร

  19. History of the Church, 3:391–92; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธประมาณ ก.ค. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงาน โดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

ภาพ
Joseph healing Elijah Fordham

วันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1839 อีไลจา ฟอร์ดแฮมลุกขึ้นจาก“การนอนของความตาย” หลังจากโยเซฟ สมิธ เข้ามาในบ้านของเขาแล้วประกาศว่า“อีไถจา ข้าพเจ้าบัญชาท่าน ในพระนามของพระเยซูแห่งนาซาเร็ร ให้ลุกขึ้นและหายเป็นปกติ!”

ภาพ
missionaries teaching

“ของประทานแห่งการพูดภาบาโดยอำนาจของพระวิญญฺาฌบริสุทธิ์ในศาสนาจักรปีไวเพี่อประโยชน์ของผู้รับใช้ของพระผู้เป็พจ้าเพี่อสั่งสอนคนไพ่ขื่อ”