คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 15: เราควรเชนผู้คนที่มีความคารวะ


บทที่ 15

เราควรเป็นผู้คนที่มีความคารวะ

ความคาราะเป็นมากกว่าพฤติกรรม ความคารวะคือคุณธรรมที่ควรเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตเรา

จากชีวิตฃองสเป็ีนเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์

ในปี 1955 ประธานเดวิด โอ. แมคเคย์อุทิศพระวิหารเบิร์น สวิตเซอร์แลนด์ พระวิหารแห่งแรกในยุโรป เอ็ลเดอร์สเป็นเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์ ขณะนั้น เป็นสมาชิกแห่งโควรัมอัครสาวกสืบสอง เป็นผู้พูดในภาคบ่ายของวันแรกในการ อุทิศ วันนั้นท่านใช้เวลาตามลำพังหนึ่งชั่วโมงที่พระวิหารเพื่อ “เตรียมความคิด และจิตใจในตอนบ่ายโดยไม่ต้องเร่งรีบ เงียบสงบ เต็มไปด้วยความเคารพและ ความคารวะ”1 ระหว่างการปราศรัยท่านกล่าวว่า “ช้าพเจ้าตื่นขึ้นเช้านี้ และเริ่ม ตั้งสติจากเมื่อคืน ข้าพเจ้าเห็นอรุณรุ่งและสิ่งแรกที่เข้ามาในความคิดของข้าพเจ้า คือพระวิหารศักดิ์สทธิ์ที่จะอุทิศในวันนี้ ข้าพเจ้าคิด “วันนี้จะต้องไม่รับประทาน อาหาร ต้องขัดรองเท้า ต้องรีดเสื้อผ้า และต้องมีความคิดที่สะอาด” ตลอดทาง ที่ไปโซลลิโคเฟนข้าพเจ้าไม่ต้องการพูดแม้แต่คำเดียว เมื่อข้าพเจ้ามาถึงห้องนี้ และนั่งช้าง [ประธานแมคเคย์] ท่านพูดทุกอย่างเป็นการกระซิบที่ศักดิ์สิทธี้ ข้าพเจ้ารูในตอนนั้นว่าข้าพเจ้ารู้สึกถึงสิ่งที่ท่านรู้สึก ‘ศักดิ์สิทธิ์แด่พระเจ้า ความ ศักดิ์ิสิทธิ์ิเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับสิทธิชนของพระเจ้า’2

ประธานคิมบัลล์ไม่ไค้มีความคารวะเฉพาะเหตุการณ์เช่นการอุทิศพระวิหาร ท่านพูดถึงความคารวะว่าเป็นวิถีของชีวิต และท่านประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ในคำสอนเรื่องนี้แม้ในกิจวัตรประจำวันที่เล็กๆ น้อยๆ ตัวอย่างเช่นครั้งหนึ่งเมื่อ ท่านไปเยี่ยมอาคารประฃุมแห่งหนึ่ง ท่านเช้าไปในห้องนํ้าอย่างเงียบๆ หยิบกระ ดาษเช็ดมือที่ตกอยู่บนพื้นไปทิ้ง และทำความสะอาดอ่าง ผู้นำศาสนาจักรในท้อง ที่ท่านหนึ่งสังเกตเห็นการแสดงออกอย่างเรียบง่ายถึงความคารวะ โดยไค้รับแรง ดลใจจากแบบอย่างของประธานคิมบัลล์ผู้นำท่านนี้จึงสอนให้ผู้อื่นแสดงคารวะ อย่างสูงต่อสถานที่และสิ่งของอันศักดิ์สิทธิ์3

คำสอนของสเป็นเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์

ความคารวะไม่ใช่พฤติกรรมชั่วคราวที่ปฏิบัติในวันอาทิตย์ แต่เป็ีน เจตคติที่ดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่องในการอุทิศตนต่อพระผู้เป็ีนเจ้า

ความคารวะมีคำนิยามว่าเป็น “ความรู้สึกหรือเจตคติอันเกิดจากความเคารพ ความรัก และความยำเกรงอันสูงสุดต่อสิ่งค้กดิ์สิทธิ์” อธิบายอีกอย่างหนึ่งได้ว่า เป็็นการอุทิศตนต่อพระผู้เป็็นเจ้าก็เป็็นอีกความหมายหนึ่งของความคารวะ

ผู้นำหลายคนของเราพิจารณาว่าความคารวะเป็็นคุณสมบัติสูงสํงที่สุดประการ หนึ่งของจิตวิญญาณโดยระบุว่าสิ่งนี้เกี่ยวข้องอับศรัทธาที่แท้จริงในพระผู้เป็็นเจ้า และในความชอบธรรมของพระองค์ เกี่ยวข้องอับวัฒนธรรมอันสูงส่ง และความ รักที่มีต่อสิ่งดีงามในชีวิต …

เช่นเดียวกับหลักธรรมพระกิตติคุณอื่นๆ ความคารวะนำไปสู่ขีติที่เพิ่มขึ้น

เราต้องจำไว้ว่าความคารวะไม่ใช่พฤติกรรมสำรวมชั่วคราวที่มีเฉพาะวันอาทิตย์ ความคารวะที่แท้จริงเกี่ยวข้องอับความสุข เช่นเดียวอับความรัก ความเคารพ ความกตัญฌู และความยำเกรงพระผู้เป็็นเจ้า ความคารวะเป็็นคุณธรรมที่ควรเป็็น ส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตเรา อันที่จริงสิทธิชนยุคสุดท้ายควรเป็็นผู้คนที่มีความคารวะ มากที่สุดในโลก4

เราควรมีความคารวะต่อพระบิดา พระบุตร และพระนามอันคักดิ์ิสิทธิ์ิของพระองค์

ความคารวะที่มีต่อพระบิดาและพระบุตรเป็็นคุณสมบัติหรือคุณลักษณะอัน สำคัญยิ่งของผู้ได้รับอาณาจักรชั้นสูง ในคำสอนและพันธสัญญาภาคที่ 76 ซึ่ง เป็็นที่รู้จักว่าคือ “ภาพปรากฎ” ที่ประทานแก่โจเซฟ สมิธ และซิดนีย์ ริกดัน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 1832 กล่าวว่า

“และด้วยประการฉะนี้ เราจึงเห็นรัศมีภาพของชั้นสูง ซึ่งเลิศในทุกสิ่ง—ที่ ซึ่งพระผู้เป็็นเจ้า แท้พระบิดาทรงปกครองเหนือพระที่นั่งของพระองค์ตลอดกาล และตลอดไป

“ซึ่งต่อพระที่นั่งของพระองค์ทุกสิ่งจะถวายคำนับด้วยความเคารพอันถ่อม และถวายรัศมีภาพพระองค์ตลอดกาลและตลอดไป

“คนที่อยู่ในที่ประทับของพระองค์เป็นศาสนาจักรของพระบุตรหัวปี และเขา เห็นดังที่เขาถูกเห็น และรู้ดังที่เขาถูกรู้ โดยได้รับจากความบริบูรณ์ของพระองค์ และจากพระคุณของพระองค์

“และพระองค์ทรงทำให้พวกเขาเท่ากันในอำนาจและในพลังและในการครอบ ครอง” (ค.พ. 76:92–95)

การเปิีดเผยในสมัยปัจจุบันอีกอย่างหนึ่งแนะนำให้เรายึดมั่นความคารวะแม้ ต่อพระนามอันศักคิ้สิทธี้ เราได้รับการสอนว่าไม่ให้ลบหลู่พระนามของพระบิดา และให้หลีกเลี่ยงการเอ่ยพระนามของพระองค์บ่อยๆ” (ค.พ. 107:2–4)

เป็นที่ประจักษ์ว่าการให้ความคารวะต่อพระผู้เป็นเจ้าและพระนามของพระ องค์คือคุณสมบัติสำคัญที่สุดประการหนึ่งที่เราจะพัฒนาได้5

วันหนึ่งเมื่อข้าพเจ้าเข้าโรงพยาบาล ขณะพนักงานกำลังเข็นข้าพเจ้าออกจาก ห้องผ่าดัด เขาเดินสะดุด ทำให้เขาสบถด้วยถ้อยคำหยาบคายอันเกิดจากความ โกรธโดยพาดพิงถึงพระนามของพระผู้ช่วยให้รอด แม้ว่าข้าพเจ้าจะมีอาการสลึม สลือ แต่ข้าพเจ้าก็ผงกคืรษะฃึ้นขอร้องเขาว่า “ได้โปรดเถอะครับ คุณกำลังลบ หลู่พระเจ้าของผม”

เกิดความเงียบงันขึ้นทันใด จากนั้นมีเสียงกระซิบที่อ่อนลงว่า “ผมขอโทษ ครับ” เขาลืมไปชั่วขณะว่าพระเจ้าทรงบัญชาอย่างเข้มงวดกับผู้คนของพระองค์ ทุกคนว่า “อย่าออกพระนามพระเจ้าของเจ้าอย่างไม่สมควร เพราะผู้ที่ออกพระ นามพระองค์อย่างไม่สมควรนั้น พระเจ้าจะทรงถือว่าไม่มีโทษก็หามิได้” (อพยพ 20:7)…

บนเวที ในโทรศัพท์ หูและตาที่ไวต่อความรู้สึกถูกทำร้ายทุกวันจากการใช้ อย่างไม่ระมัดระวังและลบหลู่พระนามของพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าของเรา ที่คลับ ที่ม้านไร่ ในวงสังคม ในธุรกิจ และในทุกย่างก้าวของชีวิต พระนามของพระผู้ ไถ่มีผู้นำไปใช้อย่างไม่เหมาะสมและไร้ศีลธรรม เราซึ่งเป็นผู้ที่ไร้ความคิดและไม่ เอาใจใส่ เราผู้ชั่วร้ายและอวดดีควรจำไว้ว่าเราไม่สามารถเอ่ยพระนามพระเจ้า อย่างไม่สมควรโดยได้รับการเว้นโทษ เราจะไม่ถูกนำไปลู่ความพินาศในที่สุด หรอกหรือขณะที่เราลบหลู่สิ่งทั้งปวงที่บริสุทธี้และศักคิ้สิทธิ์ แม้การใช้บ่อยๆ และขาดความคารวะเมื่อมีการเอ่ยพระนามพระเจ้าในชีวิตประจำวันของเรา

การที่มนุษย์คนใดคนหนึ่งเอ่ยพระนามพระเจ้าอย่างไม่เคารพถือเป็นสิ่งเลว ร้าย นี่รวมถึงการเอ่ยพระนามพระเจ้าโดยปราศจากสิทธิอำนาจ และมีผู้คนมาก มายอ้างการเปีดเผยและอ้างสิทธิอำนาจซึ่งไม่ได้รับโดยตรงจากพระเจ้า

ตลอดทุกยุคทุกสมัย ศาสดาไม่เคยหยุดประณามบาปอันร้ายแรงนี้ ศาสดา อิสยาห์เรียกผู้คนที่ “ปฏิญาณในพระนามของพระเจ้า และเชิดชูพระเจ้าของ อิสราเอล แต่มิใช่ด้วยสัจจะและความชอบธรรม” (อิสยาห์ 48:1)ให้รับผิดชอบ และกลับใจ…

การเอ่ยพระนามของพระเจ้าด้วยความคารวะต้องเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเรา ในฐานะสมาชิกของศาสนาจักร ตัวอย่างเช่น ในฐานะสิทธิชนยุคสุดท้ายที่ดีเรา จะไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเหล้า ไม่ดื่มชากาแฟ และโดยฐานะเดียวกันนี้เราจะไม่ใช้ ภาษาหยาบคาย เราไม่แช่งด่าหรือใส่ร้าย เราไม่ใช้พระนามของพระเจ้าอย่างไม่ สมควร ไม่ใช่เรื่องยากที่จะเป็นคนดีพร้อมในการเลิกนิสัยชอบสบถสาบาน ล้า ใครก็ตามปีดปากของเขาไม่ให้พูดคำสาปแช่งเหล่านี้ เขาก็กำลังอยู่บนเล้นทางที่ บุ่งหน้าไปสู่ความดีพร้อมในเรื่องนั้นด้วย”

แด่ความรับผิดชอบของเราไม่ได้สิ้นสุดตรงนั้น ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นการยับ ยั้งจากการทำบาปเท่านั้น เพื่อทำสิ่งชอบธรรม เราต้องเอ่ยพระนามพระเจ้าด้วย ความคารวะและความศักดิ์ึ๋สิทธิ์ึ๋ในคำสวดอ้อนวอน คำสอน และการสนทนา ของเรา …

พระเยซูทรงทำพระชนม์ชีพของพระองค์ไห้ดีพร้อมและทรงเป็นพระคริสต์ ของเรา พระโลหิตอันทรงคุณค่าหาที่สุดมิได้ของพระผู้เป็นเจ้าหลั่งและพระองค์ ทรงเป็นพระผู้ช่วยให้รอดของเรา พระองค์ประทานพระชนม์ชีพที่ดีพร้อมของ พระองค์และพระองค์ทรงเป็นพระผู้ไถ่ของเรา การชดใช้ที่ทรงกระทำเพื่อเรา ทำให้เราสามารถกลับไปหาพระบิดาบนสวรรค์ ทว่าผู้ที่ได้รับประโยชน์จากสิ่งนี้ มากที่สุดกลับไร้ความคิด ไร้สำนึกในพระกรุณาธิคุณ ความอกตัญญเป็นบาป ของยุคสมัย

ผู้คนมากมายมีความเชื่อในพระองค์และงานของพระองค์ ทว่ามีเพียงน้อย นิดที่ให้เกียรติพระองค์ เราหลายล้านคนเรียกตนเองว่าชาวคริสต์ทว่าไม่ใคร่จะคุก เข่าด้วยความกัตญฌูสำหรับของประทานอันสูงสุดนั่นคือพระชนม์ชีพของพระ องค์

ขอให้เราอุทิศตนอีกครั้งเพื่อให้มีเจตคติแห่งความคารวะที่นำไปสู่การแสดง ออกถึงความกตัญญต่อพระเจ้าของเราสำหรับการเสียสละอันหาที่เปรียบมิได้ ของพระองค์ ขอให้เราระลึกถึงพระบัญชาในสมัยปัจจุบันที่ว่า “ตังนั้น ให้คนทั้ง ปวงระวังว่าเขาจะรับนามของเราในริมฟีปากของเขาอย่างไร” (ค.พ. 63:61)6

พระวิหาร อาคารประชุม และบ้านควรเป็นสภานที่ แห่งความคารวะ

อีกด้านหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งคือ พระเจ้าทรงแนะนำผ่านการเปิดเผย ในยุคปัจจุบันว่าเราควรมีความคารวะอย่างเหมาะสมต่อพระนิเวศน์อันศักคิ์์สิทธิ์ ของพระองค์ ในการเปีดเผยครั้งสำคัญต่อโจเซฟ สมิธเป็นที่รู้ในชื่อว่าคำสวด อ้อนวอนอุทิศพระวิหารเคิร์ทแลนด์ ได้ไห้คำแนะนำไว้ดังนี้ เช่นเดียวกับพระ วิหารศักคิ์์สิทธิ์ทุกแห่ง ที่สร้างถวายพระเจ้า พระวิหารแห่งนี้ควรเป็นสถานที่ แสดงออกถึงความคารวะต่อพระองค์ (ดู ค.พ. 109:13, 16–21)

ในความหมายที่แท้จริงก็คือ สิ่งที่พูดถึงพระวิหารอันศักคิ์์สิทธิ์ของศาสนาจักร สามารถนำไปใช้ได้คับ “พระนิเวศน์ของพระเจ้า” ทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นอาคาร ประชุมหรือสถานที่ใดก็ตามที่สิทธิชนนมัสการ หรือแห้กระทั่งในบ้านของสิทธิ ชนยุคสุดท้าย7

สำหรับสิทธิชนยุคสุดท้ายสถานนมัสการไม่ใช่ซอกมุมหรือห้องในโบสถ์ ไม่ ใช่สถานที่ซึ่งมีแท่นบูชาทำจากทองคำและอัญมณี ห้องนมัสการจะไม่ตั้งโชว์ หรือจัดแสดง ไม่มีรูปปัน และส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีรูปภาพด้วย แต่จะตกแต่ง อย่างเรียบง่าย สะอาด มีแสงสว่างเพียงพอ และใช้นมัสการ ห้องนมัสการเป็น สถานที่ให้ผู้คนนั่งลงอย่างสบายใจในความเป็นพี่ห้องอย่างแท้จริง เป็นที่สอน บทเรียน คณะนักร้องร้องเพลง สมาชิกสวดอ้อนวอนและสอน เป็นสถานที่ซึ่ง ทุกคนได้รับความรู้และแรงบันดาลใจ—เป็นสถานที่ซึ่งผู้ใหญ่และเด็กรับคืล ระลึก ที่นึ่ทำให้มีนิสัยที่คิดและทำสิงดีซึ่งนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต ที่ผี่ศรัทธา กำเนิดขึ้น มีชีวิตชีวา และได้รับการทำให้ศักดิ์สิทธิ์

ห้องนมัสการไม่ได้อุทิศไว้เพื่อประกอบพิธีการแบบเสแสร้งซึ่งจะพบแต่คน หน้าเคร่งขรึม พิธีการที่เข้มงวด หรือความเงียบที่เยือกเย็นและแห้งแล้ง อย่าง ไรก็ตามเราพบความคารวะต่อสถานที่บริสุทธิ์ จุดประสงค์อันศักดิ์สิทธิ์ และ บุคคลผู้ประเสริฐที่นั่น8

เราเป็นคนมีความคารวะไหม การกระทำในบ้านและที่โบสถ์ของเราแสดง ความคารวะต่อพระผู้สร้างของเราไหม?

บางครั้งเราสงสัย เราร่วมการประชุมศีลระลึกและการประชุมใหญ่ขณะที่เด็กๆ เดินไปมาระหว่างที่นั่งโดยไม่มีการห้ามปราม ระหว่างพิธีนมัสการ เราสังเกตเห็น ผู้ใหญ่พูดคุยกับคนช้างเคียง บ้างก็นั่งสัปหงก และคนหนุ่มสาวจับกลุ่มคันที่ห้อง โถง เราห็นครอบครัวมาสายและส่งเสียงรบกวนขณะเดินไปนั่ง เราเห็นหลาย กลุ่มคุยกันเสียงดังในห็องนมัสการหลังเลกประชุม

ข้าพเจ้าคิดไปถึงผู้สนใจ เพื่อน และผู้ที่มีประจักษ์พยานเปราะบางและกำลัง พัฒนา การประชุมของเราเป็นเครื่องมือลันทรงพลังสําหรับงานสอนสาสนา ที่ ซึ่งพระวิญญาณของพระเจ้าประทับและเข้าถึงจิตใจหรือไม่ หรือเพื่อให้รู้สึกถึง พระวิญญาณเราต้องขจัดสี่งรบกวนที่ไม่จำเป็นทั้งหลาอออกไปก่อน9

คนดีคือคนที่มีความคารวะ เขาจะแสดงความคารวะในบ้านแห่งการนมัสการ แบ้ว่าเขาจะอยู่ที่นั่นเพียงคนเดียว ไม่มีการร่วมประชุมเมือพระเจ้าทรงบัญชา โมเสสว่า “ถอดรองเห้าของเจ้าออกเสีย เพราะว่าที่ซึ่งเจ้ายืนอยู่นี้เป็นที่ศักดิ์ สิทธิ์” [ดู อพยพ 3:5] เจ้าหบ้าที่ควบคุมควรวางแผนอย่างรอบคอบที่จะไม่ให้ ไค้ยินหรือเห็นการกระซิบกระซาบจากบนยกพื้น บิดามารดาควรอบรมสั่งสอน และนั่งกับลูกๆ (ยกเว้นเมื่ออยู่ตามชั้นเรียนที่ไคัรับการดูแล) เจ้าหน้าที่ต้อนรับ ควรไคัรับการอบรมให้พาคนไปนั่งอย่างเงียบๆ โดยก่อให้เกิดการรบกวนน้อยที่ สุด ผู้เข้าประชุมควรมาถึงแด่เนิ่นๆ ทักทายเพื่อนค้วยเสียงเบาๆ เดินชาลง หา ที่นั่งค้านหน้า และนั่งสงบจิตใจ ทุกคนควรมีส่วนร่วมให้มากที่สุดเท่าที่จะทำไค้ —ร้องเพลงร่วมกับนักร้อง สวดอ้อนวอนกับผู้สวดอ้อนวอน รับส่วนศีลระลึก ด้วยใจที่เปี่ยมด้วยความขอบคุณและอุทิศตนอีกครั้งให้พันธสัญญาที่เคยทำ มีการ เปีดโอกาสให้เอาใจใส่อย่างเต็มที่กับชั้นเรียนที่สอน คำเทศนาที่สั่งสอน และ ประจักษ์พยานที่แสดง ไม่ตัดสินจากคำพูดที่คมคายแต่โดยความจริงใจ ที่นี่จะมี โอกาสให้ทุกคนรับคำสอนจากแหล่งที่สำคัญ เพราะครูหรือผู้พูดที่นอบน้อมจะ ให้แง่คิดที่สามารถนำไปใช้ได้ ขณะที่เราเข้าประตูห้องนมัสการอย่างสงบเราจะ ทิ้งคำวิพากษ์วิจารณ์ ความวิกตกกังวลและความห่วงใย—แผนงานอาชีพ การ เมือง สังคม และนันทนาการ—ไว้ข้างนอกและทำตัวเราให้สงบเพื่อครุ่นคิดและ นมัสการ เราอาจรับบรรยากาศทางวิญญาณ เราอาจอุทิศตนให้การเรียนรู้ การ กลับใจ การให้อภัย การเป็นพยาน ความซาบซึ้ง และความรัก10

ความคารวะเริ่มจากที่บ้าน

ความคารวะเริ่มจากไหน จากนั้นเราจะพัฒนาความคารวะได้อย่างไร

บ้านเป็นกุญแจสู่ความคารวะเช่นเดียวกับคุณความดีอื่นๆ ทุกอย่างที่ทำให้ เป็นเหมือนพระผู้เป็นเจ้า

ข้าพเจ้าขอเน้นถึงความสำคัญของการสอนลูกให้สวดอ้อนวอน ระหว่างการ สวดอ้อนวอนเป็นส่วนตัวและเป็นครอบครัวนี่เองที่เด็กๆ จะเรียนรู้การก้มดีรษะ กอดอก และหลับตาขณะกล่าวถึงพระบิดาบนสวรรค์ พฤติกรรมที่เรียนรู้จากบ้าน จะกำหนดพฤติกรรมในการประชุมที่โบสถ์ เด็กที่เรียนรู้การสวดอ้อนวอนที่บ้าน จะเข้าใจในไม่ข้าว่าเขาจะต้องเงียบและอยู่นิ่งๆ ระหว่างการสวดอ้อนวอนในพิธี นมัสการ

ทำนองเดียวกันเมื่อการสังสรรค์ไนครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตครอบครัว เด็กๆ จะรู้ว่ามืช่วงเวลาพิเศษไม่เฉพาะที่โบสถ์แต่เป็นที่บ้าน เป็นเวลาที่เราเรียน รู้เกี่ยวกับพระบิดาบนสวรรค์ของเรา และทุกคนจะต้องประพฤติตนให้ดีที่สุด

ดนตรีทำให้เด็กๆ เบิกบานเป็นพิเศษ เพลงสวดที่ร้องบ่อยๆ ที่โบสถ์สามารถ นำมาร้องที่บ้านได้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กเล็กๆ จะได้รับประโยชน์อ้าบิดา มารดาช่วยพวกเขาเรียนรู้เพลงสวดง่ายๆ ที่บ้าน ด้วยวิธีนี้ เด็กจะรอคอยอย่าง ตื่นเต้นที่จะร้องเพลงในการประชุมดืลระลึกและการประชุมอื่นๆ

แน่นอนที่บิดามารดาควรเข้าร่วมการประชุมวันอาทิตย์กับลูกๆ ของพวกเขา

บิดาและมารดาควรร่วมมือกันเพื่อทำให้แน่ใจว่าการเตรียมพร้อมสำหรับการ ประชุมเป็นประสบการณ์ที่น่าเบิกบานใจของครอบคร้ว การเร่งรีบในนาทีสุดท้าย เพื่อให้ลูกมารวมกันแต่งตัว และรีบไปการประชุมเป็นผลเสียอย่างมากต่อความ คารวะ

เมื่อครอบครัวมีนิสัยแบบนี้พวกเขาจะไปโบสถ์สายบ่อยๆ มักจะมีคำพูด ฉุนเฉียวและทำร้ายความรู้สึกส่วนเกๆ ก็จะอารมณ์เสียและไม่อยู่นิ่งระหว่างที่มี การประชุม ความการวะจะมีมากขึ์นเมื่อครอบครัวเตรียมตัวล่วงหน้าอย่างดีเพื่อ ไปร่วมการประชุม โดยมาสิงโบสถ์ก่อนการประชุมเริ่ม และนั่งด้วยกันเพื่อฟัง เพลงก่อนการประชุมและขจดความกังวลทางโลกออกจากความคิด

บิดามารดาที่มีลูกเล็กๆ บางครั้งมีความยู่งยากที่จะช่วยให้ลูกน้อยชื่นชอบการ ประชุมและไม่ก่อความรำคาญ ความไม่ย่อท้อ ความหมักแน่น และการเตรียม พร้อมที่น้านเป็นองถ์ประกอบที่จำเป็นของความสำเร็จ หากจนปัญญาไม่ทราบ จะรับมือกับถูกๆ ที่โบสถ์ได้อย่างไร บิดามารดาที่อายุน้อยอาจขอคำแนะคำจาก คู่สามีภรรยาในวอร์ดซึ่งมีประสบการณ์มากกว่า

ก่อนและหลังการประชุม สมาชิกของศาสนาจักรมักจะจับกลุ่มทักทายปรา- ศรัยในห้องนมัสการ บางครั้งดูเหมือนว่าการขาดความคารวะเกิดขึ้นเนื่องจาก ความไม่ประสิประสาต่อความจริงที่ว่าเราเป็นเพื่อนกันและวันแซมัธเป็นเวลา สะดวกที่จะพูดคุย ผูกมิตร และพบปะผู้คนใหม่ๆ บิดามารดาควรเป็นแบบอย่าง แก่ครอบครัวโดยพูดคุยกันในห้องโถงหรือบริเวณอื่นนอกห้องนมัสการก่อน หรือหลังการประชุม หลังจากการประชุมบิดามารดาจะช่วยนำวิญญาณของการ ประชุมไปที่บ้านได้โดยการสนทนากันในครอบครัวเกี่ยวกับข้อคิด เพลง หรือ เรื่องดีๆ ที่ได้จากการประชุม11

แบบอย่างของความคารวะสามารถเป็ีนอิทธิพล อันทรงพลังต่อผู้อื่น

เราพูดไปแล้วถึงความสำคัญของความคารวะและสำรวจความหมายบางอย่าง ของความคารวะ เราได้ให้คำแนะนำหลายประการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้มีความ คารวะที่บ้านและที่โบสถ์ อย่างไรก็ตามการปรับปรุงพฤติกรรมอย่างแท้จริงของ ผู้คนจะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อผู้นำในท้องที่และครอบครัวผนึกคำลังกันเอาชนะปัญ หาเกี่ยวกับความคารวะที่เห็นได้ชัด เราคาดหวังให้ทั้งศาสนาจักรปรับปรุงเรื่อง ความคารวะ…

ความคารวะที่แท้จริงเป็นคุณสมบัติสำคัญยิ่ง แต่ก็เป็นสิงที่สูญหายไปจาก โลกอย่างรวดเร็วขณะกองกำลังของความชั่วร้ายแผ่ขยายอิทธิพลของมัน เราไม่ อาจเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ว่ามีพลังอันไม่สิ้นสุดสำหรับเราถ้าสมาชิกหลายล้าน คนของศาสนาจักรที่แท้จริงของพระคริสต์เป็นแบบอย่างพฤติกรรมของความ คารวะ เรานึกภาพไม่ออกหรอกว่ามืผู้คนอีกหลายชีวิตที่เราทำให้เขารู้สึกประทับ ใจได้ สิ่งที่อาจสำคัญมากกว่านั้นคือเราไม่สามารถมองเห็นล่วงหน้าถึงอิทธิพล อันใหญ่หลวงทางวิญญาณซึ่งมีต่อครอบครัวของเราหากเราเป็นผู้มืความคารวะ อย่างที่รู้ว่าเราควรจะเป็น12

ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅴ–ⅸ

  • ทบทวนแบบอย่างของความคารวะในหน้า 167 เรื่องราวทั้งสองเรื่องแนะนำ อะไรเกี่ยวคับความหมายของการเป็นคนมีความคารวะ แบบอย่างเกี่ยวกับ ความคารวะใดที่ท่านสังเกตเห็นในชีวิต ท่านเรียนรู้สิ่งใดจากประสบการณ์ เหล่านี้

  • ทบทวนสิ่ย่อหน้าแรกในหน้า 168 โดยหาคำสอนของประธานคิมบัลล้ว่า ความคารวะคืออะไรและสิ่งใดไม่ใช่ความคารวะ เพราะเหตุใดสิทธิชนยุคสุด ท้ายจึงสมควร “เป็นผู้คนที่มีความคารวะมากที่สุดในโลก”

  • ท่านคิดว่าเราควรตอบสนองอย่างไรเมื่อเราไค้ยินบางคนเอ่ยพระนามพระเจ้า อย่างไม่สมควร ท่านเรียนรู้สิ่งใดจากแบบอย่างของประธานคิมบัลล์ (ดู หน้า 169 เราจะทำอะไรน้างเพื่อเป็นการยกย่องพระนามของพระเจ้า

  • ทบทวนหน้า 171–173 เพื่อหาการกระทำและเจตคติแห่งความคารวะ การ กระทําและเจตคติของการไร้ความคารวะ การกระทำและเจตคตินั้นมีอิทธิพล ต่อเราเป็นส่วนตัวในทางใดบ้าง สิ่งเหล่านี้มีอิทธิพลต่อครอบครัวและคนอื่น อย่างไร พิจารณาว่าท่านและครอบครัวของท่านสามารถทำสิ่งใดเพื่อมีความ คารวะที่โบสถ์

  • ท่านคิดว่าบิดามารดาสามารถทำอะไรที่บ้านเพื่อช่วยให้ลูกๆ ของพวกเขา ต้องการเป็นผู้มีความคารวะในการประชุมศีลระลึก การประชุมอื่นๆ และกิจกรรมของศาสนาจักร (ดู แบบอย่างในหน้า 173–175)

  • ศึกษาสองย่อหน้าสุดท้ายในบทนี้ (หน้า 175) ความคารวะที่ปรับปรุงแล้ว ของเรามีอิทธิพลต่อครอบครัวและต่อชุมชนของเรา อย่างไรบ้าง

ข้อพระคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง: 1 พงศ์กษัตริย์ 6:1, 7; มัทธิว 21:12–14; แอลมา 37:14–16; ค.พ. 63:61–62, 64

อ้างอิง

  1. ดู Francis M. Gibbons Spencer W. Kimball: Resolute Disciple, Prophet of God (1995) หน้า 192

  2. The Teachings of Spencer W. Kimball, ed. Edward L. Kimball (1982) หน้า 534

  3. ดู Gibbons, Spencer W. Kimball: Resolute Disciple, Prophet of God, ⅹⅰ.

  4. We Should Be a Reverent People (pamphlet, 1976) หน้า 1, 2

  5. We Should Be a Reverent People หน้า 1–2

  6. “President Kimball Speaks Out on Profanity,” Ensign กุมภาพันธ์ 1981 หน้า 3, 4–5

  7. We Should Be a Reverent People หน้า 2

  8. The Teachings of Spencer W. Kimball หน้า 222

  9. We Should Be a Reverent People หน้า 1

  10. The Teachings of Spencer W. Kimball หน้า 222–23

  11. We Should Be a Reverent People หน้า 2–3

  12. We Should Be a Reverent People หน้า 4

ภาพ
celestial room

ห้องอาณาจ้กร ชั้นสูงในพระวิทารเมาท์ ทิมปาโนกัส ยูท่าห์ ประธานคิมข้ลล์สอว่าพระวิหาร “ควรเป็นสถานที่แสดงความคารวะ”

ภาพ
sacrament meeting

ประธานคิมบ้ลล์สอนว่า “ศรัทธากําเนิดขึ้น ขิชิวิตชิวา เเละถูกกําให้ศักดิ์ลิทธิ์” ในห้องนมัสการของสิทธีชยุคสุดท้าย

ภาพ
mother and children praying

พฤติกรรมทีเรียนรู้ลากข้านละกําหนดพฤติกรรมในการประชุขทีโขสถ์