คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 17: การแบ่งป้นพระกิตติคุณ


บทที่ 17

การแบ่งป้นพระกิตติคุณ

เราจะบรรลุความรับผิดซอบที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบหมายให้เราแน่งปัน พระกิตติคุณกับผู้อื่นได้อย่างไร?

บทน่า

เอ็ลเดอร์กอร์ดอน บี. สิงด์ลีย์ แห่งโควรัมอัครสาวกสิบสอง และมาจอรีภรรยาของ ท่านจะเดินทางร่วมกับประธานและซิสเตอร์ฮาโรลด์ บี. ลี เป็นครั้งคราว “มีอยู่สอง ครั้งที่เราแยกไปอังกฤษ เยอรมนี ออสเตรีย อิตาลี กรีซ และแผ่นดินศักตื้สิทธี้พร้อม กับประธานและซิสเตอร์ลี ที่นั่นเราพบปะกับผู้สอนศาสนา สมาซิก เยาวชน และทหาร” ซิสเตอร์สิงค์ลีย์กล่าว “ไม่เคยมีใครมีเพื่อนร่วมทางที่สุภาพอ่อนน้อม มีมารยาท และ มีนํ้าใจมากเท่านี้มาก่อน”

“เราอยู่ที่อังกฤษในวันอาทิตย์วันหนึ่ง วันนั้นทั้งวันเรามีการประชุมใหญ่สองภาค และไฟร์ไซด์ตอนกลางคืน เมื่อกลับไปที่โรงแรมประมาณสามทุ่มครึ่ง เราอ่อนเพลีย และหิวมาก จึงไปหาอะไรรับประทานที่ห้องอาหารของโรงแรม วันนั้นสินสุดลงแล้ว เราคงได้พักผ่อนเลียที อย่างน้อย นั่นก็คือสิงที่ข้าพเจ้าคิด เรื่องต่อมาที่ข้าพเจ้าจำได้ แม่นคือ บรีกรหญิงเตรียมดินสอมาจดตามที่เราสั่ง ประธานลีมองดูเธอพลางถามว่า ‘คุณนับถือศาสนาอะไรหรือครับ’ วันนั้นยังไม่สินสุดสำหรับท่าน ท่านเริ่มทำงานเผย แผ่ ท่านทราบทุกเรื่องเกี่ยวกับหญิงสาวคนนี้ก่อนจะเสร็จสินการรับประทานอาหาร เธอสูญเลียสามีและอยู่เพียงสำพังด้วยความกลัว เธอสัญญาว่าจะพบกับผู้สอนศาสนา และเรียนรู้เพิ่มเดิม นับเป็นเรื่องดียิ่งที่ได้เห็นประธานศาสนาจักรปฏิบัติสิงที่ท่านสอน ทุกคนในวันนั่น เมื่อบรีกรหญิง (สตรีอายุราวสามสิบห้าปี) ทราบว่าชายที่เธอพูดคุย ด้วยเป็นประธาน ศาสดา ผู้พยากรณ์ และผู้เปิดเผยของศาสนาจักรของพระเยซู คริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย เธอแทบไม่อยากเชื่อว่าบุคคลเซ่นนี้จะลดตัวลงมาพูด คุยกับคนเซ่นเธอ เธอรูสิกตื้นตันใจเป็นอย่างมาก”1

เมื่อพูดถึงการแบ่งบีนพระกิตติคุณ ประธานลีกล่าวว่า “ขอให้ [เรา] ตระหนักว่านึ่ เป็นความรับผิดชอบที่พระเจ้าประทานแก่ศาสนาจักรของพระองคํในทุกสมัยการ ประทาน…ที่จะสอนพระกิตติคุณแก่ทุกคนเพื่อเราจะไม่มีข้อแก้ตัวในวันแห่งการ พิพากษา และเพื่อทุกคนจะได้รับการไถ่จากการตกและถูกนำกลับไปยังที่ประทับของ พระเจ้า2

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ทำไมจึงเป็นส่งสำคัญที่เราจะแบ่งปืนพระกิตติคุณกับผู้อื่น?

เรารักษาประจักษ์พยานของเราโดยการดำเนินชีวิต สวดอ้อนวอน และแข็งขันใน ศาสนาจักร และโดยการรักษาพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า จากนั้นพระวิญญาณผู้ ทรงนำทางจะสถิตกับเรา นี่เป็นสมบัติอ้นลํ้าค่าที่สุดอย่างหนึ่งซึ่งสมาชีกของศาสนา จักรจะมีได้

เนื่องด้วยประจักษ์พยานนี้ เราทุกคนจึงมีความรับผิดชอบที่จะตระหนักว่าภาระ หน้าที่ของเราคือ เป็นพยานถึงภารกิจอันศักดสิทธึ๋ของพระเจ้าทุกครั้งที่เรามีโอกาส หากเราตั้งอกตั้งใจ มีโอกาสมากมายที่จะสอนพระกิตติคุณ วันแล้ววันเล่า ชั่วโมงแล้ว ชั่วโมงเล่า ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดก็ตาม หากเราดำเนินชีวิตเพื่อการนี้ หากเราเตรียม พร้อมเพื่อการนี้ และหากเราแสวงหา พระวิญญาณผู้ทรงนำทางจะประทานความ สามารถในการสอนแก่เรา จำไว้ว่า ในการสอนพระกิตติคุณ ถ้อยค่าก็เป็นแค่คำพูด เว้นแต่จะประกอบด้วยพระวิญญาณของพระเจ้า…

ความรับผิดชอบของเรา คือ นำข่าวสารแห่งความจริงมาสู่ซาวโลก แสดงใหํโลก เห็นว่าในดำสอนแห่งพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ เขาจะพบวิธแก่ใขปัญหาทุก อย่างที่ทำให้มนุษย์กลัดกลุ้ม3

เราควรยอมรับทุกโอกาสเพื่อนำความรู้เรื่องพระกิตติคุณไปสู่ผู้อื่น-สู่เพื่อน สมาชิกที่ไม่แข็งขันของศาสนาจักร สู่เพื่อนที่ไม่เป็นสมาซิกในวิทยาลัย ในกลุ่มทหาร ในวงการธุรกิจ เพื่อนบ้าน และเพื่อน ๆ ของเรา

พระเจำประทานการเปิดเผยต่อศาสดาด้งนี้ “เพราะยังมีคนมากบนแผ่นคืนโลก ในบรรดานิกาย กลุ่ม และลัทธิทั้งหมด ผู้ที่ตาบอดโดยกลโกงที่มีเล่ห์ของมนุษย์ ซึ่ง โดยการนั้นเขารอคอยที่จะหลอกอยู่ และผู้ที่ถูกกันไว้จากความจริงเพิยงเพราะเขาหา รู้เม่ว่าจะพบมันที่ไหน” (ค.พ. 123:12)4

เสียงที่มาสู่ผู่ซึ่อสัตย์ในใจไม่มีเสียงใดอบอุ่นเกินกว่าเสียงของผู้นำข่าวสารตัวจริง ที่กำลังสั่งสอนพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์5

ท่านคงจำเรื่องที่ [เอ็ลเดอร์ซาร์ลส์ เอ. คอลลิส] เล่าให้เราฟ้งเมื่อครั้งที่ท่านไป มอนตานาเพื่อเยี่ยมชายคนหนึ่งซึ่งเคยท่างานเผยแผ่ในไอร้แลนดํได้ หลังจากสืบหา ชายผู้นี้จนพบ ซึ่งตอนนี้อายุมากแล้ว เอ็ลเดอร้คอลลิสแนะนำตัวพร้อมกับพูดว่า “คุณคือ ผู้สอนศาสนาที่เคยทำงานในไอร์แลนด์เมื่อหลายปีก่อนใซไหมครับ?” ชาย คนนั้นตอบว่าใช่ “ดีจังเลยครับ” ท่านพูด “คุณคือคนที่พูดในการกล่าวอำลาสนาม เผยแผ่ว่า คุณคิดว่าคุณล้มเหลวตลอดสามปีที่ผ่านมาเพราะคุณสามารถให้บัพติศมา ได้แต่คนเดียว ซึ่งก็คือเด็กซาวไอริซที่สกปรกมอมแมมคนหนึ่ง คุณพูดอย่างนั้นใช่ ไหมครับ” “ใช่ครับ ผมจำสิงที่ผมพูดได้” บราเดอร์คอลสิสกล่าวว่า “ผมอยากจะ แนะนำตัวให้คุณรู้จักผม คือซาร์ลล้ เอ. คอลสิสแห่งสภาอัครสาวกสิบสองซองศาส- นาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย ผมคือเด็กซาวไอริชสกปรกมอมแมม คนนั้นที่คุณให้บัพดีศมาตอนเป็นผู้สอนศาสนาที่ไอร์แลนด์ไงละครับ” จิตวิญญาณ ดวงหนึ่งกลายเป็นอัครสาวกของศาสนาจักรและอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า6

ไม่มีใครยื่นมือออกไปช่วยเหลือผู้อื่นแน่หากตัวเขายังไม่ได้รับสิทธี้ในความรอดที่ พึงได้อันเนื่องจากความเต็มใจของเขาที่จะช่วยเหลือผู้อื่น จงระลึกไว้เสมอว่า เราทุก คนล้วนเป็นลูกของพระบิดา ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกของศาสนาจักรในเวลานี้หรือไม่ก็ ตาม คนเหล่านี้คือลูกของพระบิดาที่เราต้องเป็นห่วงเป็นใยอย่างยิ่ง เขาเป็นที่รักของ พระองค์เช่นเดียวกับคนที่เป็นสมาชิกของศาสนาจักรในเวลานี้ หากคนใดในพวกเรา ออกไปทำงานเพื่อนำเขาเข้ามาล่คอก พระเจ้าตรัสว่าคน ๆ นั้นย่อมนำความรอดมาล่ จิตวิญญาณของตนเอง [ดู ค.พ. 4:4]7

ทำไมความเต็มใจที่จะเสียสละจึงเป็นส่งสำคัญ ในการแบ่งป้นพระกิตติคุณ?

แก่นแท้ของสิงที่เราเรียกว่าคริสตคาสนิกชนมีอยู่ในบันทึกของผู้เขียนกิตติคุณของ ยอห้น ซึ่งในนั้นยอห้นอ้างถึงประจักษ์พยานของพระอาจารย์เกี่ยวกับพระภารกิจจาก สวรรค์ของพระองค์เองในฐานะพระผู้ช่วยให้รอดของโลก พระดำรัสของพระองค์มี ดังนี้

“เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์” (ยอห้น 3:16)

ข้อความนี้กล่าวถึงการรับใช้อันสูงล่งที่สุดที่เราจะให่ได้ที่นึ่ในชีวิตมตะนี้ นั้นคือ ความเต็มใจที่จะเสิยสละตนเองเพื่อความผาสุกของผู้อื่น ศาสดาโจเซฟ สมีธ อธิบาย ถึงสภาพของการเสียสละและการรับใขํในกระบวนการชำระชีวิตให้คักดี้สิทธี้ว่า

“ศาสนาที่ไม่เรียกร้องการเสียสละอะไรเลย ไม่มีพลังอำนาจมากพอที่จะก่อให้ เกิดศรัทธาอันจำเป็นต่อชีวิตและความรอด…

“เป็นโดยทางการเสียสละนี้เท่านั้นที่พระผู้เป็นเจ้าทรงกำหนดว่ามนุษย์จะได้รับ ชีวิตนิรันดร” [Lectures on Faith (1985), 69]

หากเราสามารถประยุกตํใช้หลักธรรมดังกล่าวกับตัวเราและกับชีวิตของเราเพื่อ ให้เราได้ครอบครองของประทานอันลํ้าค่านั้น นั้นแสดงว่าเราฉลาดจริง ด้งที่กษัตริย์ เป็นจามินสอนผู้คนของท่านโดยทิ้งห้ายไวํในค่าปราศรัยว่า

“…เมื่อท่านอยู่ในการรับใช้เพื่อนมนุษย์ของท่าน ท่านก็อยู่ในการรับใช้พระผู้เป็น เจ้าของท่านนั้นเอง” (โมไซยา 2:17)…

ถ้าเซ่นนั้น การให้ก็คือการแสดงความรักของคนเรา และเมื่อคนๆ นั้นให้ตัวเอง จริง ๆ ย่อมแสดงให้เห็นว่าบุคคลที่เต็มใจให้มีความรักอันมั่นคง…

ศาสดาโจเซฟ สมีธ รักความจริงที่เป็ดเผยให้กับท่านมากถึงขนาดยอมสละทุกสิง ที่ท่านครอบครองในโลก แมํชีวิตของท่านเอง โดยทำทุกสิงที่ทำได้เพื่อแสดงประจักษ์ พยานนั้น และเพื่อให้ประซาชาติของแผ่นดินโลกได้ยินประจักษ์พยานตังกล่าว…

ข้าพเจ้าออกไปเยี่ยมสเตคแห่งหนึ่งเมื่อหลายเดือนก่อน ประธานสเตคฃอให้ ข้าพเจ้าสัมภาษณ์เยาวชนชายบางคนที่ฝุงหวังจะเป็นผู้สอนศาสนา เขาเล่าให้ช้าพ- เจ้าฟังว่า เยาวชนชายคนหนึ่งในกลุ่มนั้นเคยพักรักษาตัวในโรงพยาบาลอยู่นาน และ ตอนนี้เขาหายเป็นปกติแล้วจากภาวะเครียดจัดอันเนื่องจากการสู้รบขณะเป็นทหาร เมื่อข้าพเจ้าสัมภาษณ์เยาวชนชายผู้นี้ ข้าพเจ้าถามเขาว่า “ทำไมคุณถึงอยากเป็นผู้ สอนศาสนา”

เขามั่งคิดอยู่นาน แล้วก็ตอบว่า “ตอนผมไปเป็นทหาร มั่นเป็นครั้งแรกที่ผมอยู่ห่าง ครอบครัว ผมพบสถานการณ์แปลก ๆ พบการล่อลวงในทุกด้านและการซักชวนให้ ทำบาป ผมต้องการพลังเพื่อให้รอดพันจากบาป ผมจึงไปอยู่เบื้องพระพักตร์พระ บิดาบนสวรรค์และสวดอ้อนวอนต่อพระองค์ด้วยศรัทธาเพื่อทูลขอพลังต่อด้านความ ชั่วร้าย พระผู้เป็นเจ้าทรงได้ยินคำสวดอ้อนวอนของผมและประทานพลังนั้นให้ผม หลังจากช่วงเวลาของการฉกผ่านพันไปแล้ว และเราอยู่ใกล้แนวรบ ผมได้ยินเสียงปีน แจ้งข่าวการเสียชีวิตที่กำลังเกิดขึ้นในขณะนั้น ผมกลัวจนตัวสั่น จึงได้สวดอ้อนวอน ขอความกล้าหาญจากพระผู้เป็นเจ้า พระองค์ประทานความกล้าหาญให้ผม และมี สันติเกิดขึ้นกับผมอย่างที่ผมไม่เคยร้สิกมาก่อน…ผมเช้าประจำการแนวหน้าซึ่งหมาย ความว่า ผมจะต้องอยู่หน้ากองกำลังต่อสู้และบางครั้งเกือบจะรุมล้อมด้วยช้าคืก ผม ทราบว่ามีอำนาจเดียวเท่านั้นในโลกที่จะช่วยผมได้ ผมจึงสวดอ้อนวอนขอให้อำนาจ นั้นคุ้มครองผม ช่วยชีวิตผม และพระผู้เป็นเจ้าทรงได้ยินค่าสวดอ้อนวอนของผม และพาผมกลับมาที่กองร้อย”

จากนั้น เขาพูดกับข้าพเจ้าว่า “บราเดอร์ลีครับ ผมรูสิกซาบซึ้งต่อสิงทั้งหมดนั้น สิงเล็กน้อยที่ผมพอจะทำได้คือ ออกไปในฐานะทูตของพระเยซูคริสต์ ไปสอนมนุษยชาติถึงพรเหล่านี้ที่ผมได้รับในฐานะลูกคนหนึ่งของครอบครัว”

เมื่อข้าพเจ้าได้ยินถ้อยคำแห่งศรัทธาของเยาวชนซายผู้นี้ ข้าพเจ้าเปรียบถ้อยคำ ของเขากับของคนที่ข้าพเจ้าเคยได้ยิน คนเหล่านั้นคิดว่าการออกไปส่สนามเผยแผ่ จะ!เกเขา เขาจะเห็นโลก เขาจะได้รับประสบการณ์อันลํ้าคำซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ เขาโดยตรง…

การฉกฉวยที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนไม่ได้มาจากคำสอนแห่งความจริงแต่มา จากคำสอนของคนที่เป็นศัตรูของความจริง…

คนที่ปรารถนาแต่ประโยชน์ส่วนตนและคอยหาทางเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น คนนั้น ไม่มีความสุขเลย เพราะสิงที่เขาแสวงหาในชีวิตจะค่อย ๆ หลุดลอยไปอันจะทำให้เขา ล้มเหลวและพ่ายแพ้ คนที่รับไข้อย่างไม่เห็นแก่ตัวเป็นคนที่มีความสุข8

ในงานสอนศาสนาของเรา เราเห็นภาพอันงดงามของเยาวชนชายและเยาวชนหญิง ที่ [ออกไป]…ทั่วทุกมุมโลกโดยการรับไข้อย่างไม่เห็นแก่ตัว เพื่อยืนเป็นพยานทุกเวลา และในทุกแห่งถึงความรับผิดชอบอันศักดึสิทธึ๋ของศาสนาจักรในการสอนพระกิตติคุณ9

ภาพ
missionaries with bikes

เราจะสอนพระกิตติคุณด้วยพลังและอำนาจได้อย่างไร?

แอลมา…และพวกบุตรของโมไชยาออกไปสอนศาสนาและปฏิบัติการรับใข้ที่ยิ่ง ใหญ่…แอลมาเห็นพี่น้องของท่าน หรือพวกบุตรของโมไซยา เดินทางไปยังแผ่นดิน เซราเฮ็มลา

“บัดนี้พวกบุตรของโมไซยานี้อยู่กับแอลมาในเวลาที่เทพมาปรากฏแก่ท่านครั้ง แรก ฉะนั้นแอลมาไดีชื่นซมอย่างยิ่งที่เห็นพี่น้องของท่าน และสิงที่ยังความสุขให้ท่าน มากคือ เขายังเป็นพี่น้องของท่านในพระเจ้า แห้จริงแล้วและเขามั่นคงขึ้นในความรู้ เรื่องความจริง เพราะเขาเป็นคนมีความเข้าใจอย่างลึกขึ้ง และเขาค้นคว้าคัมภีร์อย่าง พากเพียร เพี่อจะไค้รู้คำของพระผู้เป็นเจ้า

“แต่นี่ยังไม่หมด เขายอมตนให้การสวดอ้อนวอนและการอดอาหารอย่างมาก ฉะนั้น เขาจึงมีวิญญาณแห่งการพยากรณ์และวิญญาณแห่งการเป็ดเผย และเมื่อสอน เขาก็สอนด้วยพลังและอำนาจของพระผู้เป็นเจ้า” [แอลมา 17:2-3]

ตอนนี้ ท่าน [ทราบ] สูตรสำเร็จที่จะท่าให้ท่านสอนไค้ด้วยพลังและอำนาจของ พระผู้เป็นเจ้าหรือยัง? มั่นก็คือ มั่นคงขึ้นในความรู้เรื่องความจริง เป็นคนที่มีความ เข้าใจอย่างลึกขึ้ง ค้นคว้าพระคัมภีร์อย่างพากเพียรเพี่อจะไค้รู้พระคำของพระผู้เป็น เจ้า แตนึ่ยังไม่หมด เราต้องสวดอ้อนวอน และเราค้องอดอาหาร เราต้องมีวิญญาณ แห่งการพยากรณ์ เมื่อทำสิงเหล่านี้ทุกอย่างแล้ว เราจะสอนด้วยพลังและอำนาจของ พระผู้เป็นเจ้า10

พระเจ้า…ตรัสว่า “และเราให้บัญญัติข้อหนึ่งแก่เจ้าว่า เจ้าจะสอนคำสอนของ อาณาจักรให้กัน” และทรงกล่าวเพี่มเดิมต่อจากนั้นว่า “เจ้าจงสอนอย่างพากเพียร และพระคุณของเราจะอยู่กับเจ้า” (ค.พ. 88:77-78) ข้าพเจ้าพยายามให้คำจำกัด ความของคำเหล่านี้ “อย่างพากเพียร” และ “พระคุณ” พจนานุกรมกล่าวว่า อย่าง พากเพียรคือ “เอาใจใส่อย่างไม่ลดละ ดำเนินการด้วยความเอาใจใส่เป็นอย่างยิ่ง” ซึ่งตรงข้ามกับความเกียจคร้าน ความไม่เอาใจใส่ หรือการไม่สนใจใยดี…

…ข้าพเจ้าเชื่อว่าคำจำกัดความของ “พระคุณ” บอกเป็นนัยไว้ในคำสอนและพันธ- สัญญาภาคที่อื่ซึ่งพระเจ้าทรงสัญญากับผู้ที่ท่างานสอนศาสนาอย่างกระตือรือร้นว่า “…และนี่แน่ะ คนที่ยิ่นเคียวของเขาออกไปเกี่ยวด้วยความสามารถของเขา คนนั้น ย่อมสะสมไว้เพี่อเขาหาตายไม่แต่นำความรอดมาล่จึตวิญญาณของเขา” [ค.พ. 4:4] “พระคุณ” แห่งการช่วยให้รอดโดยอำนาจการชดใข้ของพระเจ้าจะขยายไปถึงผูให้ เช่นเดียวกับผู้ที่จะได้รับพิธีการแห่งความรอดของพระกีตดิคุณ11

สุดท้าย สำหรับข้าพเจ้าแล้วมีสิงหนึ่งที่ดูเหมือนจะสำคัญพอๆ กับ หรือสำคัญมาก กว่าสิงอื่นทั้งหมดคือ

“และประทานพระวิญญาณแก่เจ้าโดยคำสวดอ้อนวอนแห่งศรัทธา และหากเจ้า หาได้รับพระวิญญาณไม่เจ้าจะไม่สอน” [ค.พ. 42:14]

บัดนี้ เราได้ไห้เครื่องมือทุกอย่างที่ต้องใช้ในแผนการสอนศาสนาแก่ท่านเพื่อการ นำเสนอและการคืกษาพระกิตติคุณไปหมดแล้ว แต่หากผู้สอนศาสนาไม่สวดอ้อนาอนอย่างพากเพียร เขาจะไม่มืวันได้รับพระวิญญาณซึ่งจะทำให้เขาสั่งสอนพระกิต- ติคุณได้ นี่คือสิงที่นีไฟหมายถึง [เมื่อท่าน] กล่าวว่า

“และบัดนี้ ข้าพเจ้านีไฟ เขียนเรื่องทั้งหมดที่สอนไวํในบรรดาผู้คนของข้าพเจ้าไม่ ได้ ทั้งข้าพเจ้าไม่สามารถในการเขียนเหมือนกับในการพูด เพราะเมื่อคนใดพูดโดย อำนาจของพระวิญญาณบริสุทธ์ อำนาจของพระวิญญาณบริสุทธ์ย่อมนำดำพูดไปสู่ใจ ของลูกหลานมนุษย์” (2 นีไฟ 33:1)

…เมื่อใดที่ท่านมีพระวิญญาณ และท่านกำลังพีง ได้รับการนำทาง และรู้สิกถึง วิญญาณแห่งการเล็งเห็น ซึ่งทุกคนที่ได้รับเรียกสู่การรับใช้พระองค์มีสิทธ์ได้รับ เมื่อ นั้นท่านจะรู้ ได้รับการนำทาง และท่านจะพูดด้วยอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธ์ ซึ่งหากปราศจากสิงนี้ จะไม่มืคนใดเป็นครูที่มืประสิทธิภาพในการสอนพระกิตติคุณ ของพระเยซูคริสต์ได้เลย12

ทำไมการดำเนินสิวิตตามพระกิตติคุณจึงเป็นส่วนที่สำคัญยิ่ง ในการแบ่งป้นพระกิตติคุณ?

วิธีที่ดีที่สุดในโลกที่จะท่าให้ผู้คนสนใจพระกิตติคุณ คือ ดำเนินชีวิตตามอุดมการณ์ และมาตรฐานที่เราคาดหวังจากผู้เป็นสมาซิกในศาสนาจักร นั้นคือสิงแรกที่ท่าให้คน แปลกหน้ารู้สิกประทับไจ เราซึ่งเป็นสมาซิกจะประพฤติตนอย่างไรในฐานะสมาซิก ของศาสนาจักร?…

…ไม่มีชายหรือหญิงคนใดสามารถสอนพระกิตติคุณได้หากเขาไม่ดำเนินชีวิตตาม นั้น การกระทำอย่างแรกที่จะท่าให้ตัวท่านมีคุณสมบัติเหมาะแก่การเป็นผู้สอนศาสนา คือ ดำเนินชีวิตตามหลักธรรมที่ท่านสอน ท่านเคยคิดไหมว่าคนบาปจะเป็นครูที่สอน เรื่องการกลับใจได้ดีที่สุด ? ท่านคิดหรือว่าคน ๆ หนึ่งจะสอนผู้อื่นเรื่องการรักษาวัน แซบัธได้อยู่างมีประสิทธิภาพหากตัวเขาไม่รักษาวันแซบัธให้ศักดสิทธ์? ท่านคิดหรือ ว่า ท่านจะสอนหลักธรรมข้ออื่นของพระกิตติคุณได้หากท่านไม่ได้เชื่อมากพอที่จะ ปลูกฝืงหลักธรรมนั้นในชีวิตของท่านเอง?13

พระเยซู [ตรัสว่า] “ฉะนั้น จงซูความสว่างของเจ้าขึ้นเพื่อมันจะส่องโลก ดูเกิด เรา คือความสว่างซึ่งเจ้าจะซูขึ้น—สิงซึ่งเจ้าเห็นเราท่าไว้ ดูเถิดเจ้าเห็นว่าเราสวดอ้อนวอน พระบิดา และเจ้าเห็นประจักษ์แล้วทุกคน” (3 นิไฟ 18:24) งานของเราคือ “ชู” ใหํโลกเห็นสิงที่พระเยซูทรงทำเพื่อมนุษย์ อันได้แก่ การซดใช้ แบบอย่างที่พระองค์ ทรงวางไว้ และคำสอนที่พระองค์ประทานแก่เราเป็นส่วนตัวและโดยผ่านศาสดาของ พระองค์ ทั้งในสมัยโบราณและป้จจุบัน พระอาจารย์ทรงแนะนำเราด้วยว่า “จงส่อง สว่างแก่คนทั้งปวง เพื่อว่าเมื่อเขาได้เห็นความดีที่ท่านทำ เขาจะได้สรรเสริญพระบิดา ของท่านผู้ทรงอยู่ในสวรรค์” (มัทธิว 5:16)…

ขณะที่เราพยายามปรับปรุงพฤติกรรมมนุษย์ไนทุกสถานการณ์ของการเป็นผู้นำ เป็นเรื่องยากที่จะประเมินพลังของตัวอย่างให้สูงเกินความเป็นจริง ไม่ว่าจะเป็น ตัวอย่างที่บิดามารดาทำให้เห็นและบอกให้ลูกทราบถึงความสำคัญของการแต่งงาน ในพระวิหาร หรือที่อดีตผู้สอนศาสนาสะท้อนภาพลักษณ์ของการเปลี่ยนแปลงและ ความเป็นผู้ใหญ่ที่พระกิตติคุณหล่อหลอมเขาให้เป็นเช่นนั้น14

“ท่านทั้งหลายเป็นความสว่างของโลก นครซึ่งอยู่บนภูเขาจะชดบังไว้ไม่ได้” [ดู มัทธิว 5:14] นี่หมายความว่าอะไร?…

…ไม่ว่าสิทธิซนยุคสุดท้ายจะอยู่ในแวดวงศาสนาจักร เป็นทหารประจำการ ใช้ ชีวิตในสังคม หรือในวงการธุรกิจ คนทั่วไปไม่ได้มองว่าเขาเป็นแต่บุคคลคนๆ หนึ่ง แต่มองว่าเขาเป็นภาพรวมของศาสนาจักร มีคนพูดว่า “จงระวังการปฏิบัติของท่าน เพราะมีคนจับตามองการดำเนินชีวิตตามพระกิตติคุณของท่าน” พระเจ้าทรงเตือน เราไว้ไนที่นี้ว่า มาตรฐานการดำเนินชีวิตในศาสนาจักรจะต้องสูงกว่ามาตรฐานการ ดำเนินชีวิตในโลกอย่างเห็นได้ซัด15

เมื่อไม่นานมานี้ [1954] ข้าพเจ้าอยู่ที่เซอูล เกาหลี และได้พบอับชายที่ดีที่สุดคน หนึ่งของประเทศนั้น ซื่อของเขาคือด็อกเตอริโฮ จิก คิม เขาเป็น…ที่ปรึกษาของรัฐ-บาลเกาหลี เป็นผู้นำของสถาบันการดีกษาแห่งหนึ่งที่นั้น และเวลานี้เขาได้ช่วยให้คน รอบช้างเปลี่ยนใจเลื่อมใสไปแล้วสามสิบลี่คน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนมีการดีกษา เราคุยกับเขาร่วมสองชั่วโมง โดยพยายามวางรากฐานที่อาจจะนำไปสู่การเริ่มด้น กิจกรรมสอนศาสนาในแผ่นตินเกาหลี เขาเล่าเรื่องการเปลี่ยนใจเลื่อมใสของตนเอง ให้เราฟัง “สิงที่ดีงดูดผมเช้ามาสู่ศาสนาจักร” เขาอธิบาย “คือเมื่อผมไปเยี่ยมบ้าน ของชายสิทธิซนยุคสุดท้ายสองคนซึ่งท่างานอยู่ในคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยคอร์ฌลลั…สิงที่ผมรู้สิกประทับใจมากคือรูปแบบชีวิตครอบครัวของเขา ผมไม่เคยอยู่ในบ้าน ที่มีความสัมพันธ์หวานชื่นระหว่างสามีภรรยา และระหว่างพ่อแม่ลูก ผมเห็นเขาสวด อ้อนวอนเป็นครอบครัว และรูสิกประทับใจมากจนเริ่มซักถามเกี่ยวกับศาสนาของเขา คืนหนึ่ง หลังจากผมดีกษามาเป็นเวลานานและมั่นใจว่าตนเองมีความปรารถนาที่จะ เช้าเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มดังกล่าว ผมทราบว่าตนเองต้องมีประจักษ์พยานก่อน จึง คุกเข่าสวดอ้อนวอนเกือบทั้งคืนและได้รับประจักษ์พยานถึงความศักดี้สิทขึ้ของงาน นี้” แต่จำไว้ว่าทุกสิงเริ่มด้นจากตัวอย่างอันดีเยี่ยมของครอบครัวที่ใซชีวิตในแบบที่ พระกิตติคุณคาดหวังจากสิทธิซนยุคสุดท้ายที่แท้จริง16

ข้อ แนะน่า สำหรับการสืกษา และการสนทนา

  • เรามีโอกาสใดบ้างที่จะสอนพระกิตติคุณ “วันแล้ววันเล่า…ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดก็ ตาม”? ผู้ที่ประสบความสำเร็จในการแบ่งปืนพระกิตติคุณกับผู้อื่นมีคุณสมบัติ อะไรบ้าง?

  • เราเรียนรู้บทเรียนอะไรจากประสบการณ์ของประธานลีเมื่อท่านแม่งป้นพระกิต- ติคุณที่ท้องอาหารของโรงแรม?

  • พรใดมาสู่ชีวิตท่านอันเนื่องจากท่านพยายามแบ่งปืนพระกิตติคุณกับผู้อื่น?

  • เราต้องเลียสละอะไรเพื่อแบ่งปืนพระกิตติคุณ? เราควรมีทัศนคติเข่นไรต่อการ เลียสละตังกล่าว? ท่านรูลีกประทับใจอะไรกับทัศนคติของเยาวชนชายที่กลับจาก สงครามและออกไปเป็นผู้สอนศาสนา?

  • เราเรียนรู้อะไรบ้างจากแอลมา 17:2-3 เกี่ยวกับวิธีแบ่งปืนพระกิตติคุณด้วยพลัง และอำนาจ?

  • ทำไมการมีพระวิญญาณบรีสุทธี้เป็นเพื่อนจึงสำคัญหาก๓จะเป็นผู้สอนศาสนาที่ มีประสิทธิภาพ? เราท่าอะไรได้บ้างเพื่อให้พระวิญญาณนำทางเราได้เต็มที่มากขึ้น ขณะที่เราแบ่งปืนพระกิตติคุณ?

  • เราจะเอาชนะความลังเลและความกลัวขณะแบ่งปืนพระกิตติคุณได้อย่างไร?

  • ทำไมตัวอย่างการดำเนินชีวิตที่ชอบธรรมของเราจึงเป็นเครื่องมือการสอนที่ทรง พลังยิ่ง?

อ้างอิง

  1. Glimpses into the Life and Heart of Marjorie Pay Hinckley, ed. Virginia H. Pearce (1999), 21-22.

  2. In Conference Report, Apr. 1961, 35.

  3. “Directs Church; Led by the Spirit,” Church News, 15 July 1972, 4.

  4. Ye Are the Light of the World (1974), 24-25.

  5. In Conference Report, Apr. 1961, 34.

  6. คำปราศรัยในคณะกรรมการฐานะปุโรหิต สามัญเรื่อง ‘Wherefore, Now Let Every Man Learn His Duty, and to Act in the Office in Which He Is Appointed in All Diligence’ วันที่ 6 พฤศจิกายน 1968 เอกสารสำคัญชองแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซน ยุคสุดท้าย หนำ 10

  7. คำปราศรัยในการประชุมใหญ่สเตคภาคผู้ สอนศาสนาของมหาวิทยาลัยบริคัม ยัง วันที่ 10 ตุลาคม 1957 เอกสารสำคัญ ของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของ พระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 3

  8. In Conference Report, Apr. 1947, 47-50.

  9. In Conference Report, Apr. 1951, 33.

  10. คำปราศรัยที่สถาบันคณะศาสนศาสตร์ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 1962 เอกสารสำคัญ ของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของ พระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 7-8

  11. In Conference Report, Apr. 1961, 34–35.

  12. คำปราศรัยในการประชุมใหญ่สเตคภาค ผู้สอนศาสนาของมหาวิทยาลัยบริคัม ยัง หน้า 5-6

  13. คำปราศรัยในการประชุมใหญ่สเตคภาคผู้ สอนศาสนาซองมหาวิทยาลัยบริคัม ยัง หน้า 2, 5

  14. คำปราศรัยที่การสัมมนาผู้แทนเซต เรื่อง ‘Therefore Hold Up Your Light That It May Shine unto the World’ วันที่ 1 ตุลาคม 1969 เอกสารสำคัญซองแผนก ประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซู คริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย 3

  15. Ye Are the Light of the World, 12-13.

  16. By Their Fruits Shall Ye Know Them, Brigham Young University Speeches of the Year (12 Oct. 1954), 5.