คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 7: พระคัมภีร์เป็น ‘แอ่งนํ้าฃนาดใหญ่ทางวิญญาณ’


บทที่ 7

พระคัมภีร์เป็น “แอ่งนํ้าฃนาดใหญ่ทางวิญญาณ”

การ0กษาพระคัมภีร์อย่างพากเพียรเพิ่มความเข้มแข็งทางวิญญาณของเรา และนำ เราไปสู่ชีวิตนิรันดรอย่างไร?

บทนำ

ประธานฮาโรลด”’บี. ลี กับเฟรดาโจน ลี ภรรยาของท่านเดินทางไปยุโรปและแผ่นดิน คักดื่สิทธในปี 1972 เพื่อสอนคำสอนแห่งพระกิตติคุณแก่บรรดาผู้สอนศาสนาและ สมาซิก เอ็ลเดอร์กอร์ดอน บี. ฮิงค์ลีย’กับมาจอรี เพย’ ฮิงค’ลีย’ภรรยาของท่านร่วมเดิน ทางไปด้วย ซิสเตอร์ฮิงค’ลีย’เล่าว่า “น่าสนใจมากทีเดียวที่จะเห็นวิธีที่ประธานลีก้าวเข้า สู่สถานการณ์หนึ่ง ๆ เมื่อเราพบกับผู้สอนศาสนา โดยปกติในตอนเข้าห้องนมัสการจะ เต็มไปด้วยผู้สอนศาสนาเต็มเวลาและผู้สอนศาสนาบางเวลาในห้องที่ เมื่อท่านยืน ปราศรัย ท่านไม่ค่อยจะเริ่มด้นด้วยคำทักทายหรือคำพูดเกริ่นแต่จะเปีดพระคัมภีร์และ เริ่มคำปราศรัยเลย ท่านเอ่ยพระคัมภีร์ด้วยความง่ายดายจนบางคเงยากจะรู่ได้ว่าคำ ไหนเป็นของท่านและคำไหนท่านอ้างมา หลังจากการประชุมเซ่นนี้ครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้า ถามท่านว่าท่านจำพระคัมภีร์ได้อย่างไรท่านคิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วตอบว่า ‘ผมไม่เคยคิด จะท่องจำพระคัมภีร์เลย ผมเข้าใจว่าผมคงไข้มากจนพระคัมภีร์กลายเป็นส่วนหนึ่ง ของผมและของคำพูดผม’”1

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ทำไมเราจึงต้องสืกษาพระคัมภีร์?

นํ้าเคยเป็นและยังคงเป็นสิงจำเป็นต่อชีวิตทางกายภาพในทุกวันนี้ฉันใด…พระ กิตติคุณของพระเจ้าพระเยซูคริสต์ก็เป็นสิงจำเป็นต่อชีวิตทางวิญญาณของลูก ๆ ของ พระผู้เป็นเจ้าด้วยฉันนั้น คำเปรียบเทียบนี้มีอยู่ในพระดำรัสของพระผู้ช่วยให้รอด เมื่อพระองค’ตรัสกับหญิงที่บ่อนั้าในสะมาเรียว่า “…ผู้ที่ดื่มนั้าซึ่งเราจะให้แก่เขานั้น จะไม่กระหายอีกเลย นั้าซึ่งเราจะให้เขานั้น จะบังเกิดเป็นบ่อนั้าพุในคัวเขาพลุ่งขึ้นถึง ชีวิตนิรันดร์” (ยอห์น 4:14)

แอ่งนํ้าฃนาดใหญ่ทางวิญญาณที่เรียกว่าพระคัมภีร์ มีอยู่แล้วในยุคนี้และได้รับการ ปกปีกรักษาไว้เพื่อทุกคนจะรับส่วนและได้รับอาหารทางวิญญาณ และเพื่อเขาจะไฝ กระหายอีกเลย พระดำรัสของพระผู้ช่วยให้รอดที่ว่า “ท่านทั้งหลายคันดูในพระคัมภีร์ เพราะท่านคิดว่าในนั้นมีชีวิตนิรันดร และพระคัมภีร์นั้นเป็นพยานให้แก่เรา” (ยอห้น 5:39) และประสบการณ์ของชาวนิไฟเมื่อกลับไปเอาแผ่นจารึกทองเหลืองซึ่งประกอบ ด้วยพระคัมภีร์ที่สำคัญยิ่งต่อความผาสุกของผู้คน บ่งบอกว่าพระคัมภีร์เหล่านี้มี ความสำคัญยิ่ง นิไฟแนะนำวิธีใช้พระคัมภีร์เหล่านี้เมื่อท่านกล่าวว่า “…เพราะข้าพเจ้า ได้เปรียบพระคัมภีร์ทั้งหมดกับตัวเรา เพื่อมันจะได้เป็นประโยชน์และเป็นการเรียนรู้ ของเรา” (1 นิไฟ 19:23) …ข่าวสารของพระบิดาได้รับการปกปีกรักษาเป็นอย่างดี มาดลอดหลายชั่วอายุ และจะเห็นด้วยว่าในยุคนี้ พระคัมภีร์บริสุทขึ้ที่สุด ณ ด้นกำเนิด ประดุจนั้าบริสุทธี้ที่สุด ณ ด้นกำเนิดบนภูเขา พระดำอันบริสุทธี้ที่สุดของ พระผู้เป็นเจ้า ซึ่งแทบไม่มีสิงเจือปนเลยแม้แต่น้อย คือพระคำที่ออกมาจากปากของ ศาสดาที่มีชีวิตอยู่ ผู่ได้รับแต่งตั้งให้นำอิสราเอลในยุคสมัยของเรา2

พระบิดาของเราประทานพระคัมภีร์อันคักตื่สิทธแก่เราผู้เป็นลูกของพระองค”ในทุก สมัยการประทานด้วยการดลใจของพระองค์เพื่อให้เรามีปีญญาที่จะเอาชนะการล่อลวง โดยทางศรัทธาในพระองค์ พระคัมภีร์เหล่านี้เป็น “ประโยชน์ในการสอน การตัก เตือนว่ากล่าว การปรับปรุงแกํไขคนให้ดี และการอบรมในทางธรรม เพื่อคนของ พระเจ้าจะพรักพร้อมที่จะกระท่าการดีทุกอย่าง” (2 ทิโมธี 3:16–17) พระคัมภีร์มี ความสำคัญยิ่ง ในแผนแห่งความรอดของพระบิดาจนต้องบันทึกเหตุการณ์ที่พระผู้ เป็นเจ้าทรงบัญชา ให้ฝาเพื่อจะได้บันทึกอันล8าค่ามาไว่ในความครอบครอง ซึ่งหาก ปราศจากสิงนี้ความมีดของโลกจะทำให้ลูกๆ ของพระองค์สะดุดและตาบอด [ดู 1 นิไฟ 4:13]3

ในระยะหลังนี้ เรามีแนวโน้มว่าจะสนใจการอ่านดำวิจารณ์เกี่ยวกับพระคัมภีร์มาก ขึ้นแต่ไม่มีอะไรสำคัญเท่ากับการที่เราจะหยิบพระคัมภีร์ขึ้นมาอ่าน…มีบางสิงนำตื่น เต้นมากขึ้น เป็นเรื่องทางวิญญาณมากขึ้น และมีความหมายลึกซึ้งมากขึ้นเมื่อข้าพเจ้า อ่านจากพระคัมภีร์…ไม่มีสิงใดในทุกวันนี้สำคัญ และจำเป็นเท่ากับการปลูกฝืงลูก ของท่านให้รักพระคัมภีร์4

พระอาจารย์ทรงแนะนำเราให้ด้นดูในพระคัมภีร์ เพราะในนั้นเราจะพบหนทางล่ ชีวิตนิรันดร เพราะพระคัมภีร์เป็นพยานถึงวิถีทางที่มนุษย์ต้องเดินเพื่อจะมีชีวิต นิรันดร์กับพระองค์และกับ “พระบิดาผู้ทรงใช้ [พระองค์] มา” ( ดู ยอห้น 5:30)5

การสืกษาพระคัมภีร์มอรมอนช่วยให้เราพัฒนา นละคงความเข้มแข็งทางวิญญาณอย่างไร?

ดูเหมือนว่าถ้อยคำของศาสดาโจเซฟ สมืธในการแนะนำพี่น้องชายให้รู้ถึงคุณค่า ของพระคัมภีร์มอรมอนจะมืดวามหมายต่อข้าพเจ้ามากกว่าพวกเราหลายๆ คน ท่าน กล่าวว่า “ข้าพเจ้าได้บอกบรรดาพี่น้องชายว่าพระคัมภีร์มอรมอนเป็นหนังสือที่ถูก ต้องที่สุดบนแผ่นดินโลก และเป็นดิลาหลักของศาสนาของเรา มนุษย์จะเข้าใกล้พระ ผู้เป็นเจ้ามากขึ้นโดยการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อยู่ในนั้นมากกว่าจากหนังสือเล่มอื่น ใด” (History of the Church, 4:461)

สำหรับข้าพเจ้า นี่หมายความว่าเราไม่เพียงพรรณนาให้เห็นถึงความจริงที่ถูกต้อง ของพระกิตติคุณในพระคัมภีร์เล่มนี้เท่านั้น แด่โดยพยานเล่มที่สองนี้ เราจะรู้อย่าง แน่ซัดมากขึ้นถึงความหมายของคำสอนของศาสดาแต่โบราณ รวมทั้งของพระอาจารย์ และสานุศิษย์ของพระองค์เมื่อครั้งมีชีวิตและสอนอยู่ท่ามกลางคนทั้งหลาย6

หากบุคคลใดต้องการใกล้ชีดพระผู้เป็นเจ้า เขาจะท่าสิงนั้นไต้โดยการอ่านพระ คัมภีร์มอรมอน7

เพี่อเพิ่มความอยากทางวิญญาณและรักษาระดับทางวิญญาณของท่านเอาไว้ คง ไม่มีอะไรดีไปกว่าการอ่านสิงลํ้าคำที่สอนไว้ในพระคัมภีร์มอรมอนและอ่านซํ้าปีแล้ว ปีเล่า เราไต้รับความสมบูรณ์ของพระกิตติคุณที่มอบผ่านเทพโมโรไนมาถึงมนุษย์ ประธานเจอร์มัน อี. เอลส์เวิร์ธ เล่าตัวอย่างเรื่องหนึ่งให้เราฟังเมื่อท่านแสดงประจักษ์ พยานในพระวิหารต่อหน้าประธานคณะเผยแผ่คนอื่นๆ ท่านกล่าวว่า หลายปีก่อน ตอนที่ท่านดูแลคณะเผยแผ่นอร์ธเทิร์นสเตท ท่านฝืนหรือเห็นภาพที่มาปรากฏ ว่าไต่ไปที่ภูเขาคาโมราห’ และในสมองมืแต’เรื่องของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณสถาน ที่คักดี้สิทธนั้น มีการห้าทายที่ชัดเจนมาถึงท่านว่า “จงสอนซาวโลกให้เชื่อในพระ คัมภีร์มอรมอน เพราะสิงนั้นจะนำเขามาสู่พระคริสต์”8

หากท่านต้องการเสริมสร่างความเข้มแข็งให้แก่นักเรียนเพี่อต่อต้าน…คำสอนของ พวกละทิ้งความเชื่อ หรือนักวิจารณ์ระดับสูงที่กำลังห้าทายศรัทธาของเขาในไบเบิล ท่านจงให้ความเข้าใจพื้นฐานแก่เขาเกี่ยวกับคำสอนในพระคัมภีร์มอรมอน จงทบ- ทวนครั้งแล้วครั้งเล่า

ท่านอ่านพระคัมภีร์มอรมอนครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่? เมื่อลักครู่นี้ข้าพเจ้ารู้สิกตกใจ จากการสัมภาษณ์ซายสองคนซึ่งเคยอยู่ในระบบเซมีนารีของเราเมื่อหลายปีก่อน ทั้ง สองเคยดำรงตำแหน่งการสอน และไต้รับปริญญาโทไปแล้วด้วย เขาไม่เชื่อความจริง ของพระกิตติคุณอีกแล้ว เขาห้าทาย โต้แย้ง พยายามทำลาย และวิพากษ์วิจารณ์คำ สอนของศาสนาจักรตลอดมา

ข้าพเจ้าเคยคุยกับสองคนนี้ และเมื่อสอบถามเกี่ยวกับการอ่านพระคัมภีร์มอรมอน หนึ่งในนั้นตอบว่า “ผมอ่านพระคัมภีร์มอรมอนครั้งสุดท้ายเมื่อสิบลี่ปีที่แล้ว”

อีกคนหนึ่งตอบว่า “ผมจำไม่ได้ว่าผมอ่านพระคัมภีร์มอรมอนครั้งสุดท้ายเมื่อ ไหร่” เรื่องเช่นนี้จะเกิดขึ้นกับเราทุกคนหากเราไม่ทำตัวให้อื่มอยู่ตลอดเวลาด้วยคำ สอนจากหนังสืออันลํ้าคำที่สุดนี้ซึ่งพระเจ้าประทานแก่เราอย่างมีจุดประสงค์ นั้นก็คือ เพื่อแก่ใฃข้อผิดพลาดและข้อโต้แย้งในสมัยของธาเหมือนกับที่พระองค์ทรงสัญญา จะกระทำในสมัยอื่น9

ข้าพเจ้าพูดกับชายที่มีซึ่อเสียงคนหนึ่งในมหาวิทยาลัยระดับรัฐของเรา…ขณะเป็น สมาซิกของศาสนาจักร เขาคอยจ้องหาโอกาสเรื่อยมาที่จะปลุกป็นและแผ่ขยายความ สงสัยโดยตั้งใจจะทำลายศรัทธาของเยาวชนเหล่านี้ เขากล่าวว่า “ผมไม่ได้ทำอย่างนี้ มาสามเดือนแล้วครับ บราเดอร์ลี”

เมื่อข้าพเจ้าถามว่า “อะไรทำให้คุณเปลี่ยนใจ” เขาให้การสารภาพอย่างน่าสนใจว่า

“เป็นเวลายี่สิบปีที่ผมไม่เคยอ่านพระคัมภีร์มอรมอนเลย แต่ผมได้รับงานมอบ หมายบางอย่างในศาสนาจักร งานมอบหมายนั้นทำให้ผมต้องคืกษาพระคัมภีร์มอร- มอน และพระกิตติคุณ ผมกลับมาหาศาสนาจักรอีกครั้งเมื่อไม่กี่เดือนนี้เอง เดี๋ยวนี้ เมื่อนักคิกษามาหาผมเพราะความกังวลใจในเรื่องคำสอนทางปรัชญา ผมจะพูดกับ เขาเป็นส่วนตัวว่า ‘อย่ากังวลใจไปเลย เพราะคุณกับผมรู้ว่าพระกิตติคุณเป็นความ จริงและศาสนาจักรนี้ถูกต้อง’”10

พระคัมภีร์ให้มาตรฐานแห่งความจริงอย่างไร?

เมื่อไม่กี่ปีมานี้ ทฤษฎีและปรัชญาทางการดืกษาที่โต้แย้งมาตรฐานเก่าแก่ทาง ศาสนา ดืลธรรม และสัมพันธภาพในครอบครัวเริ่มเข้ามามีบทบาท ผู่โจมติความเชื่อ ของประซาซนในยุคปืจจุบันคอยจ้อง…ทำลายศรัทธาในคำสอนที่เก่าแก่และน่าเชื่อ ถือของพระคัมภีร์ และ [แทนที่ด้วย] คำสอนด้านจริยธรรมที่มนุษย์คิดขึ้นโดยไม่ได้ รับการดลใจ ตลอดจนเปลี่ยนไปตามกาลเวลาและสถานที่11

ข้าพเจ้าว่า เราต้องสอนผู้คนของเราให้หาคำตอบในพระคัมภีร์ คงจะติไม่น้อย หากเราทุกคนฉลาดพอจะกล่าวว่า เราไม่สามารถตอบคำถามใด ๆ ได้แต่เราหาคำ ตอบได้จากคำสอนในพระคัมภีร์! และหากเราไต่ยนบางคนสอนตรงกันข้ามกับสิงที่ อยู่ในพระคัมภีร์ เราจะรู้ได้ว่าสิงที่พูดออกมานั้นผิดหรือไม่-เป็นเรื่องง่ายอะไรปาน นั้น แต่น่าเสียดายที่หลายคนในพวกเราไม่ได้อ่านพระคัมภีร์ เราไม่รู้ว่าอะไรอยู่ในนั้น และด้วยเหตุนี้ เราจึงคาดเดาเกี่ยวกับสิงที่เราควรจะหาเจอในพระคัมภีร์ ข้าพเจ้าคิด ว่านี่เป็นอันตรายใหญ่หลวงที่สุดอย่างหนึ่งของเราในทุกวันนี้

เมื่อข้าพเจ้าประชุมกับผู้สอนศาสนา และเขาซักถามเกี่ยวกับพระวิหาร ข้าพเจ้าจะ จบการสนทนาโดยบอกเขาว่า “ผมไม่กล้าตอบคำถามของคุณ เว้นแต่ผมจะพบคำ ตอบในงานมาตรฐานหรือในถ้อยแถลงที่น่าเชื่อถือของประธานศาสนาจักร”

พระเจ้าประทานวิธีไวํให้เราในงานมาตรฐานเพื่อใช้ประเมินความจริงและความ เท็จ ขอให้เราทุกคนเอาใจใส่พระดำรัสของพระองค์ “เจ้าจงเอาสิงเหล่านี้ซึ่งเจ้าได้รับ ซึ่งมีให้แก่เจ้าในพระคัมภีร์ของเราไว้เป็นกฎ ที่จะเป็นกฎของเราเพื่อปกครองศาสนา จักรของเรา” (ค.พ. 42:59)12

มักจะมิการล่อลวงให้ทำนอกเหนือจากที่พระเจ้าทรงเป็ดเผยไว้ และพยายามใช้ จินตนาการในบางกรณีหรือคาดเดาเกี่ยวกับคำสอนเหล่านี้ ข้าพเจ้าอยากให้ท่านจดจำ ไว้ อย่าบังอาจทำนอกเหนือจากที่พระเจ้าทรงเป็ดเผยไว้ หากท่านไม่รู้ จงบอกว่าท่าน ไม่รู้ แต่อย่าพูดว่าท่านไม่รู้ทั้งที่ท่านควรรู้ เพราะท่านควรเป็นนักสิกษาพระคัมภีร์ หากเป็นไปได้ควรตอบคำถามเกี่ยวกับคำสอนของพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ จากพระคัมภีร์13

เรามิสิงที่ศาสนาจักรอื่นไม่มี นั่นคือ พระคัมภีร์อันลํ้าเลิศทั้งกี่เล่ม หากเราอ่านทุก เล่ม ความจริงของหนังสือเหล่านี้จะแจ่มซัดจนเราจะเข้าใจผิดไม่ได้ ตัวอย่างเซ่น เมื่อ เราอยากจะรู้เกี่ยวกับความหมายของคำอุปมาเรื่องข้าวละมานอย่างที่พระเจ้าทรง หมายถึงสิงที่เราต้องทำคือ อ่านการเปิดเผยในคำสอนและพันธสัญญาภาคที่ 86 และเราจะทราบการแปลความหมายของพระเจ้า หากเราอยากทราบสิงที่อยู่ในคำ สอนเรื่องผู้เป็นสุข หรือคำสวดอ้อนวอนของพระเจ้า เราจะอ่านได้จากสามนืไฟซึ่ง เป็นฉบับที่ถูกต้องมากกว่า แนวคิดมากมายในด้านอื่น ๆ ที่ถูกปิดบังไว้จะซัดเจนและ แจ่มซัดในสมองของเรา14

ทำไมเราต้องใช้พระคัมภีร์เมื่อเราสอนพระกิตติคุณ?

หน้าที่ของผู้ที่สอนลูก ๆ ของพระองค์ คือ สอนหลักธรรมพระกิตติคุณ เราไม่ได้ รับการแต่งทั้งให้สอนความคิดหรือคาดคะเนความจริง เราไม่ได้รับการแต่งทั้งให้สอน หลักปรัชญาหรือวิทยาศาสตร์ของโลก เราได้รับการแต่งทั้งให้สอนหลักธรรมพระกิต- ติคุณตามที่มิอยู่ในงานมาตรฐาน คือ พระคัมภีร์ไบเบิล พระคัมภีร์มอรมอน คำสอน และพันธสัญญาและไข่มุกอันลํ้าคำ

ขณะที่เรามองว่านั่นเป็นข้อจำกัดของเรา แต่ถือได้ว่านี่เป็นสิทธิพิเศษของเราที่จะ รู้ความจริงเหล่านั่นและมีพระ คัมภีร์ฉบับสมบูรณ์ที่สุดที่โลกได้รู้จัก เฉพาะสมาซิก ของศาสนาจักรเท่านั่นที่มีสิทธิพิเศษอันยิงใหญ่ดังกล่าว15

เราเชื่อว่าสมาชิกของเราหิวกระหายพระกิตติคุณที่บรีสุทธเม่มีสิงเจือปนซึ่งมิความ เข้าใจที่ลึกซึ้งและความจริงมากมายอยู่ในนั้น…เราอย่าทำผิดพลาดโดยทำให้ [สมาชิก ของเรา] เบื่อหน่าย…ในบ้านหรือในชั้นเรียนศาสนาจักร โดยให้เขาจิบพระกิตติคุณ ทั้งๆ ที่เขากระหายใคร่ดื่มจากบ่อนั้าธำรงชีวิต!…ดูเหมือนจะมีคนที่ลึมไปว่าอาวุธ ทรงพลังที่สุดที่พระเจ้าประทานแก่เราเพื่อต้านทานสิงชั้วร้ายทุกอย่าง คือ คำสอนแห่ง ความรอดที่เรียบง่ายและชัดเจนตามที่มีอยู่ในพระคัมภีร์ และนี่คือคำประกาศของ พระองค์ เราตกใจเมื่อไต้ยินว่าพื่บ้องบางคนของเราที่เรียกไต้ว่าผ่านโลกมาอย่าง โซกโซน…เลือกที่จะละทิ้งหลักสูตรการคืกษาที่วางไว้ และหันไปสนับสนุนปาฐกถา ในเรื่องต่าง ๆ ที่มีความคล้ายคลึงน้อยมากกับความจริงพื้นฐานของพระกิตติคุณ16

ทุกสิงที่เราสอนในศาสนาจักรนี้ควรยึดพระคัมภีร์เป็นหลัก…เราควรเลือกเนื้อหา จากพระคัมภีร์และหากท่านมีคำอธิบายประกอบในพระคัมภีร์หรือการเป็ดเผยใน พระคัมภีร์มอรมอน จงใช้มัน และอย่าดึงมาจากแหล่งอื่นหากท่านสามารถหาไต่ใน หนังลือเหล่านี้ เราเรียกสิงเหล่านี้ว่างานมาตรฐานของศาสนาจักรเพราะเป็นมาตรฐาน หากท่านต้องการประเมินความจริง จงประเมินโดยใช้งานมาตรฐานทั้งส์เล่มของ ศาสนาจักร…หาก ไม่อยู่ในงานมาตรฐาน ให้คิดเลืยว่านั้นเป็นการคาดเดา ล้าจะพูด อีกอย่างหนึ่งก็คือ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของมนุษย์ หากสิงนั้นตรงข้ามกับสิงที่อยู่ ในพระคัมภีร์ ท่านจะรู้โดยเครื่องหมายเดียวกันว่าสิงนั้นไม่จริง นี่คือมาตรฐานที่ท่าน ใช้ประเมินความจริงทั้งหมดไต้ แต่หากท่านไม่รู้จักมาตรฐาน ท่านก็จะไม่มีมาตรการ ที่เหมาะสมในการประเมินความจริง17

ข้าพเจ้ากำลังคิดย้อนกลับไป…ข้าพเจ้าเรียนพระคัมภีร์อย่างไรเมื่อเป็นเด็กปฐม- วัย…จำไต้ว่า ศรัทธาเกิดจากการไต่ยินพระคำของพระผู้เป็นเจ้า คังที่เปาโลกล่าว [ดู โรม 10:17] …ในชั้นเรียนปฐมวัย ข้าพเจ้ามิครูที่ยิ’งใหญ่-ไม่ไต่ยิงใหญ่ในแง่ที่ว่าเธอ สำเร็จการคืกษาและไต้รับ!]รีญญาบัตรสาขาการสอน หรือดึกษ’าศาสตร์ แต่เธอมีรูป แบบของความเชื่อ…ที่ว่า เพื่อสร้างศรัทธาในตัวเรา เธอต้องสอนพระคัมภีร์แก่เรา18

เรากำลังเติบโตในประจักษ์พยานและในวิญญาณ โดยการสืกษาพระคัมภีร์อย่างพากเพียรหรือไฝ?

ท่าน…กำลังเพิ่มพูนประจักษ์พยานอย่างต่อเนื่องโดยการคืกษาพระคัมภีร์อย่าง พากเพียรหรือไม่? ท่านมินิลัยชอบอ่านพระคัมภีร์ทุกวันหรือไม่? ล้าเราไม่อ่านพระ คัมภีร์ทุกวัน ประจักษ์พยานของเราจะค่อยๆ ลดลง ความเข้มแข็งทางวิญญาณของ เราจะไม่ลึกซึ้ง ตัวเราต้องคืกษาพระคัมภีร์และท่าทุกวันจนเป็นนิสัย19

วิธีสร้างความเข้มแข็งทางวิญญาณ คือ สืกษาพระกิตติคุณ20

พยายามให้ครอบครัวของท่านมีเวลาที่เงียบสงบในการไตร่ตรองทุกวัน และสอนผู้ อื่นให้ท่าเซ่นเดียวกัน คืกษาพระคัมภีร์อย่างน้อยวันละสามสิบนาที ตอนเข้าตรู่ หรือ ก่อนนอน ตามแต่ท่านจะเห็นเหมาะสม ท่านต้องมีเวลาหนึ่งชั่วโมงที่จะไตร่ตรองร่วม กับการสวดอ้อนวอน เพื่อท่านจะสามารถติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้าไต้และพูดคุยกับพระ องค์ถึงปึญหาที่มากเกินกว่าความเข้าใจของมนุษย์และใหญ่หลวงเกินกำลังของมนุษย์21

ต้องไม่ปล่อยให้วันใดผ่านไปโดยไม่ไต้อ่านหนังสือคักดี้สิทธี้เหล่านี้ แต่การเรียนรู้ เรื่องพระชนม์ชีพและงานของพระองค์โดยการคืกษาเท่านั้นยังไม่พอ พระอาจารย์ทรง ตอบคำถามที่ว่าเราจะรู้จักพระองค์และคำสอนของพระองคํไต้อย่างไร ดังนี้ “ถ้าผู้ใด ตั้งใจประพฤติตามพระประสงค์ของพระองค์ ผู้นั้นก็จะรู้” (ยอห้น 7:17) ท่านคิดว่า คนที่ไม่เคยทดลองในห้องปฏิบัติการจะเป็นผู้รอบรู้ต้านวิทยาศาสตร์!ดํไหม? ท่านจะ ใส่ใจความคิดเห็นของนักวิจารณ์ดนตรีที่ไม่รู้เรื่องดนตรีหรือนักวิจารณ์คืลปะที่วาด ภาพไม่เป็นไหม? เซ่นเดียวกันกับท่าน คนจะ “รู้จักพระผู้เป็นเจ้า” ก็ต่อเมื่อเขาท่า ตามพระประสงค์ของพระองค์ รักษาพระบัญญัติของพระองค์ และปฏิบัติคุณธรรม ดังที่พระเยซูทรงปฏิบัติ22

เราอยู่ในการรับใช้พระเจ้า เรามีสิทธึไต้รับการชี้นำทางวิญญาณหากเราดำเนิน ชีวิตอย่างมีค่าควร พระผู้เป็นเจ้าทรงขอให้เราดำเนินชีวิต คิกษาพระคัมภีร์ และท่า สิงนี้ให้เป็นนิสัยจนเราพอใจที่จะท่าทุกวัน จนเราไต้รับเรียกสู่ตำแหน่งอ้นสูงส่งใน อาณาจักรของพระบิดาของเรา23

ข้อ แนะนำ สำหรับการสีกษา และการสนทนา

  • พระคัมภีร์จำเป็นต่อชีวิตทางวิญญาณเซ่นเดียวกับนํ้าจำเป็นต่อชีวิตทางกายภาพ อย่างไร? การคิกษาพระคัมภีร์ช่วยให้เราเอาชนะการล่อลวงอย่างไร?

  • พระคัมภีร์มอรมอนนำเราไปสู่พระเยซูครีสตในทางใด? พระคัมภีร์มอรมอนช่วย ให้เราตรวจพบความจริงจากความผิดอย่างไร? การคิกษาพระคัมภีร์มอรมอนมี ผลต่อชีวิตของท่านอย่างไร?

  • ท่านมีประสบการณ์อะไรเกี่ยวกับการต้นพบดำตอบในพระคัมภีร์?

  • เมื่อเราสอน ทำไมจึงเป็นสิงสำคัญที่จะพึ่งพาพระคัมภีร์และคำสอนของศาสดา?

  • ท่านไต้ท่าให้การคิกษาพระคัมภีร์มีความสำคัญเป็นอันดับแรกในชีวิตของท่าน อย่างไร? ท่านไต้สนับสนุนลูกๆ หรือสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัวให้คิกษาพระ คัมภีร์อย่างไร?

  • การสิกษาพระคัมภีร์ช่วยให้เรามีความสามารถมากฃึ้นที่จะ “ได้รันการเรียกส่ตำ แหน่งอันสูงส่งในอาณาจักรของพระบิดาของเรา” อย่างไร?

อ้างอิง

  1. Glimpses into the Life and Heart of Marjorie Pay Hinckley, ed. Virginia H. Pearce (1999), 21.

  2. In Conference Report, Oct. 1943, 101.

  3. Stand Ye in Holy Places (1974), 370.

  4. The Teachings of Harold B. Lee, ed. Clyde J. Williams (1996), 152-53.

  5. The Teachings of Harold B. Lee, 150.

  6. The Teachings of Harold B. Lee, 154.

  7. The Teachings of Harold B. Lee, 155.

  8. “Restoration of the Gospel,” 1954, Historical Department Archives, The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints, 19-20.

  9. The Teachings of Harold B. Lee, 157.

  10. Ye Are the Light of the World (1974), 105.

  11. Decisions for Successful Living (1973), 11.

  12. The Teachings of Harold B. Lee, 153.

  13. The Teachings of Harold B. Lee, 154.

  14. Ye Are the Light of the World, 109.

  15. Ye Are the Light of the World, 96.

  16. The Teachings of Harold B. Lee, 450-51.

  17. The Teachings of Harold B. Lee, 148-49.

  18. “How Primary Teachers Can Strengthen Their Testimonies,” 47th annual Primary conference, 3 Apr. 1953, Historical Department Archives, The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints, 9.

  19. Regional representatives’seminar, 12 Dec. 1970, Historical Department Archives, The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints, 10.

  20. Dedication of the Southern California Region welfare ranch, 6 July 1950, Historical Department Archives, The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints.

  21. The Teachings of Harold B. Lee, 152.

  22. The Teachings of Harold B. Lee, 150.

  23. The Teachings of Harold B. Lee, 152.