คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 22: สันติจงอยู่กับจิตวิญญาณของเจ้า


บทที่ 22

สันติจงอยู่กับจิตวิญญาณของเจ้า

ทำไมความยากลำบากจึงจำเป็นต่อการบรรลุจุดประสงค์นิรันดร์ของพระเจ้า?

บทน่า

“หกคนที่อาศัยอยู่บนโลกนี้ต้องได้รับการทดสอบด้วยลมแห่งความยากลำบาก” ฮาโรลีด”’ บี. ลีกล่า1 ความยากลำบากไม่ใช่เรื่องแปลก ฮาโรลด้ บี. ลี สูญเลียเฟิร์น แทนเนอร์ ลีภรรยาของท่าน และมอรีน ลี วิลคินล้ลูกสาวระหว่างทศวรรษที่ 1960 ทั้งยังประสบบีญหาร้ายแรงด้านสุขภาพตลอดช่วงที่ท่านเป็นเจ้าหน้าที่ชั้นผู่ใหญ่ด้วย ในการประชุมใหญ่สามัญปี 1967 ท่านยอมรับว่า “ข้าพเจ้าต้องยอมรับการทดสอบ บางอย่าง การทดสอบที่รุนแรงบางอย่างต่อพระพักตร์พระเจ้า ข้าพเจ้าคิดว่าพระองค์ ทรงพิสูจน์ข้าพเจ้าเพื่อดูว่าข้าพเจ้าเต็มใจยอมรับทุกสิงที่พระเจ้าทรงเห็นสมควรให้ เกิดกับข้าพเจ้า แม้ดังเด็กยินยอมต่อบิดาของตนหรือไม่” [ดู โมไซยา 3:19]2

แต่ประธานลีให้การปลอบโยนเมื่อเผชิญความทุกข์ยากไว้ดังนี้ “บุคคลที่เผิาคอย รางวัลนิรันดร์ลำหรับความเพียรพยายามของเขาในชีวิตมตะด้วยความเชื่อมั่นจะได้รับ การคํ้าจุนตลอดเวลาให้ผ่านพันการทดสอบที่หนักหนาสาหัสที่สุดของเขาไปได้ เมื่อ เขาผิดหวังในความรัก เขาจะไม่ฆ่าตัวตาย เมื่อคนรักของเขาเสียชีวิต เขาจะไม่หมด อาลัยตายอยาก เมื่อเขาแพ้การแช่งขันที่หวังว่าจะชนะ เขาจะไม่สะดุด เมื่อสงคราม และการทำลายล้างทำให้อนาคตของเขาดับสลาย เขาจะไม่จมอยู่ในความเศร้าใจ เขาจะดำเนินชีวิตเหนือโลก และไม่มองข้ามเบีาหมายแท่งความรอดของเขาเลย”3

“เล้นทางยู่ [ความสูงส่ง] ขรุขระและสูงขัน หลายคนสะดุดล้มลง และความห้อแห้ ไม่ได้ทำให้เขาลุกขึ้นมาเริ่มด้นใหม่อีกคเง อิทธิพลของความซํ่วร้ายบดบังเล้นทางด้วย สิงขวางกั้นหนาทึบมากมาย โดยพยายามอยู่บ่อย ๆ ที่จะให้เราเดินอ้อมไปผิดทาง แต่จากการเดินทางคริ่งนี้” ประธานลีรับรอง “เราแน่ใจได้ว่าหากเราเลือกสิงถูกต้อง ความสำเร็จจะเป็นของเรา และความสำเร็จนั้นจะหล่อหลอม แกนิสัย และสร้างเราให้ เป็นคนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมพอจะถูกรับเข้ายู่ที่ประทับของพระผู้เป็นเจ้า มีความ สำเร็จใดยิงใหญ่กว่าการมีทุกสิงที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมีเล่า?4

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ความยากลำบากช่วยให้เราเป็นเหมือนพระผู้เป็นเจ้ามากขึ้นอย่างไร?

ข้าพเจ้าคิดว่ามีกระบวนการขัดเกลาที่มาจากความทุกข์ยาก ซึ่งเราจะประสบด้วย วิธีอื่นไม่ได้นอกจากโดยความทุกข์ยาก…เราจะเข้าใกล้พระองค์ผู้ทรงสละชีวิตเพื่อ มนุษย์จะได้เป็นอยู่มากขึ้น เราจะรู้สิกถึงความสัมพันธ์ฉันญาติอย่างที่เราไม่เคยรูสีก มาก่อน…พระองค์ทรงทนทุกข์เกินกว่าที่เราจะจินตนาการได้ แต่ระดับที่เราทนทุกข์ ดูเหมือนจะส่งผลให้เราใกลํซดพระองค์มากขึ้น ช่วยให้จิตวิญญาณของเราบริสุทธึ้ และช่วยชำระล้างสิงซึ่งไม่เป็นที่พอพระทัยในสายพระเนตรของพระเจ้า5

อิสยาห้กล่าวว่า “ข้าแต่พระเจ้า แต่พระองค์ยังทรงเป็นพระบิดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์ทั้งหลายเป็นดินเหนียว และพระองค์ทรงเป็นช่าว่ฝ็น ข้าพระองค์ทุกคน เป็นผลพระหัตถกิจของพระองค์” (อิสยาห้ 64:8)

ข้าพเจ้าอ่านข้อนี้หลายครั้งแต่ไม่เข้าใจความหมายถ่องแท้จนกระทั้งไปที่เทลาคา ปาคา เม็กซิโกเมื่อหลายปีก่อน ผู้คนที่นั่นจะใช้เบ้าป็นดินเหนียวเป็นเครื่อง’ฝ็นตินเผา แบบต่าง ๆ ข้าพเจ้าเห็นเขาผสมดินเหนียวด้วยวิธีเก่าแก่ทั้งเดิม โดยจะลงไปยาโคลน เพื่อผสมให้เข้ากัน แล้วนำดินเหนียวที่ได้มาวางบนจานหมุนของช่าง’ฝ็น และช่างก็จะ เริ่ม’ฝ็นเป็นเครื่อง’ฝ็นดินเผาที่มีกรรมวิธีสลับซับซ้อน ซึ่งเขาต้องเอาไปวางขายที่ตลาด และขณะที่เราเฝืาดู เนื่องด้วยข้อผิดพลาดบางอย่างในการผสม บางครั้งเราจึงเห็นว่า ช่างจำเป็นต้องดึงเอาดินเหนียวทั้งก้อนโยนกลับไปผสมใหม่ บางทีต้องทำขั้นตอนนั่น ซํ้าหลายครั้งกว่าจะผสมโคลนจนเข้ากันดึ

เมื่อเห็นเช่นนั่น ข้าพเจ้าจึงเริ่มเข้าใจความหมายของพระคัมภีร์ข้อนี้ เราเองก็ต้อง ได้รับการทดลองและการทดสอบด้วยความยากจน ความเจ็บป่วย ความตายของคน ที่เรารัก การล่อลวง และบางครั้งด้วยการทรยศของคนที่คิดว่าเป็นเพื่อน ความนั่งคั่ง รื่ารวย ความสะดวกสบาย ความหรูหราฟุมเหืเอย แนวคิดผิดๆ ทางการดึกษา และ การยกยอปอฟ้นของโลก บิดาคนหนึ่งอธิบายเรื่องนึ่ให้ลูกชายของเขาฟังโดยกล่าวว่า

“และเพื่อนำมาซึ่งจุดมุ่งหมายอันเป็นนิรันดร์ฃองพระองค์ในที่สุดของมนุษย์ หลัง จากพระองค์ทรงสร้างบิดามารดาแรกของเราและสัตวํในทุ่งและนกในอากาศแล้ว และโดยสรุปทุกสิงที่ถูกสร้างขึ้นจำต้องเป็นว่ามีการตรงกันข้าม แม้ผลไม้ต้องห้าม เป็นการตรงกันข้ามกับด้นไม้แห่งชีวิต อย่างหนึ่งหวานและอีกอย่างหนึ่งขม” [2 นีไฟ 2:15]

เมื่อพูดถึงกระบวนการซัดเกลานี้ ศาสดาโจเซฟ สมิธพูดว่าท่านเป็นเหมือนก้อน หินฃรุฃระขนาดใหญ่ที่กำลังกลิ้งลงจากเขา และท่านได้รับการขัดเกลาก็ต่อเมื่อเหลี่ยม มุมที่ฃรุฃระสัมผัสกับสิงอื่น กระทบตรงโน้นทีตรงนี้ที แต่ท่านกล่าวว่า “นี่จะทำให้ ข้าพเจ้ากลายเป็น…ลูกศรขัดเงาในแล่งของพระผู้ทรงฤทธานุภาพ” [History of the Church, 5:401]

ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องได้รับการขัดเกลา เราต้องได้รับการทดสอบเพื่อพิสูจน์ความ เข้มแข็งและพลังที่อยู่ในเรา6

เมื่อได้รับการนำทางด้วยศรัทธาที่สอนไวํในพระดำรัสของพระผู้เป็นเจ้า เราจะมอง ชีวิตเสมือนเป็นกระบวนการอันยิ่งใหญ่ของการแกฝนจิตวิญญาณ ในสายพระเนตรที่ พระบิดาผู้เปียมด้วยความรักทรงเฝืามองตลอดเวลานั้น เราจะเรียนรู้จาก “สิงที่เรา ทนทุกข์” เราจะได้รับความเข้มแข็งโดยการเอาชนะอุปสรรค และเราจะชนะความ กลัวโดยได้รับขัยชนะในที่ซึ่งอันตรายชุ่มซ่อนอยู่ [ดู ฮีบรู 5:8] โดยศรัทธา ดังที่สอน ไวํในพระดำรัสของพระผู้เป็นเจ้า เราจะเข้าใจว่าสิงใดก็ตามในชีวิตที่เอื้อต่อมาตรฐาน อันสูงส่งของพระเยซู—“เหตุฉะนี้ท่านทั้งหลายจงเป็นคนดีรอบคอบเหมือนอย่างพระ บิดาของท่านผู้ทรงสถิตในสวรรค์เป็นผู้ดีรอบคอบ” (มัทธิว 5:48)—เป็นไปเพื่อ ความดีของเรา และเพื่อประโยชน์นิรันดร์ของเรา แม้ว่าการ’ฝ็นนั้นอาจทำใหํได้รับการ ดีสอนอย่างรุนแรงจากพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงพระปรีชาญาณ “เพราะองค์พระผู้เป็นเจ้า ทรงดีสอนผู้ที่พระองค์ทรงรัก และเมื่อพระองค์ทรงรับผู้โดเป็นนุฬร พระองค์ก็ทรงดี สอนผู้นั้น” (สืบรู 12:6)

ด้วยเหตุนี้ การแกฝนและรับการสั่งสอนซํ้าแล้วซํ้าเล่าเพื่อต่อสู้กับอำนาจแห่ง ความมืดและความชั่วร้ายทางวิญญาณ อาจทำให้เรา “ถูกขนาบรอบข้าง แตกไม่ถึง กับกระดิกไม่ไหว เราจนป๋ญญาแต่ก็ไม่ถึงกับหมดมานะ เราถูกข่มเหง แต่ก็ไม่ถูก ทอดทิ้ง เราลูกดีลงแล้ว แต่ก็ไม่ถึงตาย” (2 โครีนธ์ 4:8-9)7

คนที่มืประจักษ์พยานเกี่ยวกับจุดประสงค์ของชีวิตจะมองอุปสรรคและการทดลอง ของชีวิตวำเป็นโอกาสดักตวงประสบการณ์อันจำเป็นต่องานแห่งนิรันดร…

หากเผชิญหน้ากับความตาย บุคคลเข่นนั้นจะไม่กลัวหากเขา “เอาข่าวประเสริฐ แห่งสันติสุขซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความพรั่งพร้อมมาสวมเป็นรองเท้า” [เอเฟขัส 6:15] และคนที่สูญเสียคนรักจะมืศรัทธาของแม่ทัพโมโรไน ผู้ประกาศว่า “เพราะพระเจ้า ทรงยอมให้คนชอบธรรมถูกฆ่าเพื่อความยุติธรรมและการพิพากษาของพระองค์จะ ได้มาถึงคนชั่วร้าย ฉะนั้นท่านไม่จำต้องคิดว่าคนชอบธรรมสูญลิ้นแล้วเพราะเขาลูกฆ่า แต่ดูเถิดเขาได้เข้าไปในความพักผ่อนของพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าของเขาแล้ว” (แอลมา 60:13)8

จงฟังบทเรียนของพระอาจารยํในการสร้างคน—“แขนงทุกแขนงในเราที่ไม่ออก ผลพระองค์ก็ทรงตัดทิ้งเสีย และแขนงทุกแขนงที่ออกผล พระองค์ก็ทรงลิดเพื่อให้ ออกผลมากขึ้น” (ดู ยอห้น 15:2)…

คงไม่มีจิตวิญญาณที่ยิ่งใหญ่แน่หากเขาไม่ได้รับการทดลองและการทดสอบผ่าน ม่านนํ้าตาและความทุกข์ยาก—ไม่ถูกลิดกิงโดยพระหัตถ์ของพระอาจารย์ผู้ทรงเป็น เจ้าของสวน โดยการใช้มีดและขอลิด กิ่งจึงถูกตัดและตกแต่งให้เป็นรูปร่างตามแบบ ของพระผู้เป็นเจ้า ทิ้งนี้เพื่อให้มันออกผลเต็มที่

ทุกคนต้องอดทนต่อการทดลอง ความยากเข็ญ ความปวดร้ทใจ และความท้อแท้ ในยามเศร้าโศกและสินหวังท่านจะได้รับการปลอบโยนหากท่านจะจดจำและธียนรู้ บทเรียนนี้ “เพราะองค์พระผู้เป็นเจ้าทรงตีสอนผู้ที่พระองค์ทรงรัก และเมื่อพระองค์ ทรงรับผู้ดเป็นบุตร พระองค์ก็ทรงตีสอนผู้ทิ้น” (ฮีบรู้ 12:6)-และอนึ่ง “บุตรชาย ของเราเอ๋ย อย่าดูหมื่นพระดำรัสสอนของพระเจ้า หรือเบื่อหน่ายต่อพระดำรัสเตือน ของพระองค์ เพราะพระเจ้าทรงตักเตือนผู้ที่พระองค์ทรงรัก ตังบิดาตักเตือนบุตรผู้ที่ เขาปีติชื่นชม” (สุภาษิต 3:11-12)9

ศาสดาโจเซฟ [สมีธ]…รู้สีกวิตกกังวลเนื่องด้วยการปล้นสะดมสิทธิซนและท่าม กลางความยุ่งยากใจของศาสดาท่านร้องทูลว่า “โอ้พระผู้เป็นเจ้า อีกนานเท่าใดเล่าที่ พระเนตรของพระองค์จะทรงเห็น และพระกรรณของพระองค์จะทรงได้ยินเสียงร้อง อันน่าเวทนาของสิทธิชน และทรงแก้แค้นความผิดของเขาด้วยมือศัตรูของเขา” [ดู ค.พ.121:1-6] และเป็นราวกับว่าพระอาจารย์ทรงน่าลูกที่ขวัญผวาเช้ามาในอ้อม พาหุของพระองค์พลางตรัสว่า

“ลูกของพ่อ สันติจงอยู่กับจิตวิญญาณของเจ้า ความทุกข์ของเจ้าและความทุกข์ ทรมานของเจ้าจะเป็นไปเพียงชั่วประเดี๋ยว

“และแล้วหากเจ้าอดทนมันด้วยติ พระผู้เป็นเจ้าจะทรงยกเจ้าขึ้นบนที่สูง เจ้าจะมี ชัยชนะศัตรูทิ้งหมดของเจ้า” (ค.พ. 121:7, 8)

พระองค์ตรัสไว้อย่างยอดเยี่ยมหลังจากนั้นว่า

“…ลูกของพ่อ เจ้าจงรู้ว่าเรื่องทิ้งหมดนี้จะเป็นประสบการณ์แก่เจ้า และจะเป็นไป เพื่อความติของเจ้า” (ค.พ. 122:7)

…ต่อจากนั้น พระอาจารย์ตรัสว่า

“บุตรมนุษย์เสด็จลงมาภายใต้ทิ้งหมด เจ้าใหญ่ยิ่งกว่าพระองค์หรือ?

“ฉะนั้น จงยึดนั้นทางของเจ้า…อย่ากลัววามนุษย์จะทำอะไรได้ เพราะพระผู้เป็น เจ้าจะอยู่กับเจ็าตลอดกาลและตลอดไป” (ค.พ. 122:8, 9)

มอยู่ช่วงหนึ่ง1ในชีวิตพี่ข้าพเจ้าต้องประยุกตใช้!ซี่งนี้กับตัวเอง บุตรมนุษย์ทรง ประสบสิงเหล่านี้นั้งทมด10

จุดประสงค์ของการเป็นอยู่ที่นึ่ของเราแสดงไว้อย่างชัดเจนในการเปิดเผยที่พระเจ้ไ ประทานแกโมเสส พระองค์ตรัสว่า “นึ่คิองานของเราและรัศมีภาพของเรา-ที่จะทำ ใพัเกิดความเป็นอมตะและชีวิตนิรันดรัของมนุษย์” [โมเสส 1:39] “ชีวิตนิรันดรของ มนุษย์” หมายถงการกลับไปยังที่ประทับของพระผู้เป็นเจ้าพระบิดา และพระบุตร ของพระองค์เพี่ออยู่กับพระองค์ขํ่วนิรันดร’ พระองค์มีได้ตรัสว่าเป็นพระประสงค์ของ พระองค์ที่ลูกทุกคนควรเสพสุขอยู่บนโลกนี้ มีความมั่งคั่งและความสะดวกสบาย เขาต้องไมมความเจ็บปวคและความเคราโศกเสียใจ พระองค์มีได้ตรัสเซ่นนั้น เพราะ บางครั้ง ดังที่อิสยาหพูตไว้ ด้นนั้ามันเชียวที่สวยงามอาจจะงอกแทนพ่มไมอราบก็ได้ [ดู อิสยาห์ 55:13]…เมึ่อเรามองภาพรวมตั้งแต่ด้นจนจบ สิงที่ซ่วงหนึ่งดูเหมือนจะ เป็นความทุกขโศก แต่ในพระปรีชาญาณของพระบิดาของเรา อาจจะเกิดพรยิ่งใหญ่ อย่างหนึ่งแทนจุดจบลันน่าเศรำที่เราคิดเอาเองก็ได้11

ภาพ
Joseph Smith in Liberty Jail

เราจะพบความเข์มแข็งและสันติสุขในใจยามทุกข์ยากไต้อย่างไร?

จิตวิญญาณทุกดวงที่เดินอยู่บนโลกนี้ ท่านและข้าพเจ้า เราทุกคน—ไฝว่ารํ้ารวย หรือยากจน ดีหรือชั่ว หนุ่มหรือแก่-เราต่างก็ได้รับการทดสอบและการทดลองโดย พายุแห่งความยากลำบาก ซึ่งเป็นลมที่เราต้องด้านทาน และคนที่จะไม่ล้มคือคนที่ สร้างบ้านไว้บนคืลา ดิลาคืออะไร? มันคือคืลาแห่งการเชื่อฟังหลักธรรมและคำสอน แห่งพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ด้งที่พระอาจารย์ทรงสอน12

ข้าพเจ้าจะไม่ขอโทษ…ที่เข้านี้ได้ขอให้ท่านเชื่อแนวติดพื้นฐานของศาสนาที่แห้จริง ร่วมกับข้าพเจ้า แนวคิดด้งกล่าวคือ ศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้าและในพระบุตรของพระ องค์พระเยซูคริสต์ในฐานะพระผู้ช่วยให้รอดของโลก และในพระนามของพระองค์สิง อัศจรรย์เกิดขึ้นและกำลังเกิดขึ้นในทุกวันนี้ มีแต’การน้อมรับความจริงเหล่านี้อย่าง เต็มที่เท่านั้นที่จะทำให้ท่านและข้าพเจ้าตั้งมั่นอยู่บนรากฐานอันมั่นคงเมื่อถูกมรสุม แห่งชีวิตพัดกระหนา

ฉะนั้น ข้าพเข้าขอให้ท่านนอบน้อมถ่อมตน…และสวดอ้อนวอนเพื่อให่ใจมีความ กล้าที่จะเชื่อว่าศาสดาผู้บริสุทธได้สอนพระกิตติคุณแก่เราจากพระคัมภีร์อันคักดสิทขึ้ ตั้งแต่กาลเริ่มด้น13

ด้งนั้น สิงสำคัญที่สุดในชีวิตจึงไม่ใช่สิงที่จะเกิดขึ้นกับท่าน แต่สิงสำคัญคือท่านจะ รับสิงนั้นอย่างไร นั้นแหละคือสิงสำคัญ ท่านคงจำได้ ก่อนจบคำเทศนาบนภูเขา พระ อาจารย์ประทานอุปมาเรื่องหนึ่ง โดยตรัสว่า

“เหตุฉะนั้นผู้ไดที่ได้ยินคำเหล่านี้ของเราและประพฤติตาม เขาก็เปรียบเสมือนผู้ ที่มืสติปืญญาสร้างเรือนของตนไว้บนติลา

“ฝนก็ตกและนี้าก็ไหลเชี่ยว ลมก็พัดปะทะเรือนนั้น แต่เรือนมิได้พังลง เพราะว่า รากตั้งอยู่บนติลา…” [มื่ทธิว 7:24-25]

พระองค์ทรงพยายามบอกอะไร? พระองค์ทรงพยายามบอกว่าลมแห่งความยาก สำบาก นี้าท่วมแห่งภัยพิบัติ และความยุ่งยากกำลังกระหนาบ้านทุกหลังของมนุษย์ บนโลกนี้ และคนที่จะไม่ล้ม-เมื่อธนาคารล้ม เมื่อท่านสูญเสียคนรัก หรือในภัยพิบัติ อื่น—สิงเดียวที่จะท่าให้เราตั้งมั่นอยู่ท่ามกลางพายุและความเครียดทั้งหมดนี้ของ ชีวิตคือ เมื่อเราสร้างอยู่บนติลาโดยการรักษาบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า…

จงคอยพระเจ้าอย่างอดทนในช่วงที่มืการข่มเหงและความทุกขเวทนาสุดแสน พระเจ้าตรัสว่า

“ตามจริงแล้ว เรากล่าวกับพวกเจ้าเพื่อนของเรา อย่ากลัว ให้ไจของเจ้าสบาย แห้ จริงแล้ว ชื่นซมตลอดไปและถวายความขอบคุณในทุกสิง

“จงคอยพระเจ้าอย่างอดทน เพราะคำสวดอ้อนวอนของเจ้าเข้ามาถึงพระกรรณ ของพระเจ้าแห่งแซบะอัธ และถูกบันทึกไว้กับตราและพันธสัญญานี้ พระเจ้าทรง สาบาน และประกาสิตว่ามันจะได้รับ” (ค.พ. 98:1-2)14

เราจะพูดอะไรได้บ้างกับคนที่ปรารถนาสันติภายในเพื่อดับความกลัว ทำใหิใจที่ ปวดร้าวชื่นบาน เกิดความเข้าใจ มองข้ามความยากลำบากสาหัสของวันนี้ และเห็น ผลแห่งความหวังและความฝืนในโลกหลังชีวิตมตะ?…

พระอาจารย์ทรงบอกให้ทราบถึงที่มาของสันติสูงสุดเมื่อพระองค์ตรัสกับสานุศิษย์ว่า “เรามอบสันติสุขไว้ไห้แก่ท่านทั้งหลาย สันติสุขของเราที่ให้แก่ท่านนั้น เราให้ ท่าน ไม่เหมือนโลกให้ อย่าให้ไจของท่านวิตก และอย่ากลัวเลย” (ยอห์น 14:27)15

“จงรักษาบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า” เพราะนี่เป็นเพียงทางเดียวที่ก่อให้เกิดสันติ ภายในดังที่พระอาจารย์ตรัสไว้เมื่อทรงกล่าวอำลาสานุศิษย์ของพระองค์ว่า “เราได้ บอกเรื่องนี้แก่ท่าน เพื่อท่านจะได้มืสันติสุขในเรา ในโลกนี้ท่านจะประสบความทุกข์ ยาก แต่จงชื่นใจเกิด เพราะว่าเราได้ชนะโลกแล้ว” (ยอหัน 16:33) ดังนั้น ท่ามกลาง ความสับสนวุ่นวายทั้งหมดของท่าน ขอให้ทุกท่านพบการรับรองจากพระอาจารย์ ผู้ทรงรักเราทุกคน ซึ่งจะท่าให้ความกลัวทั้งหมดอันตรธานหายไปเมื่อท่านเอาชนะ สิงทางโลก เซ่นเดียวกับพระอาจารย์16

ความปลอดภัยในโลกทุกวันนี้อยู่ที่ไหน? รถถัง ปีน เครื่องบิน และระเบิดปรมาณู ไม่ได้ท่าให้เกิดความปลอดภัย มีสถานที่ปลอดภัยเพียงแห่งเดียวเท่านั้น และสถาน ที่ดังกล่าวอยู่ในขอบเขตอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงฤทธานุภาพซึ่งพระองค์ ประทานแก่คนที่รักษาพระบัญญัติของพระองค์และฟ้งสุรเสียงของพระองค์เมื่อพระ องค์ตรัสผ่านซ่องทางที่ทรงแต่งตั้งไว้เพื่อจุดประสงค์นั้น…

สันติสุขจงอยู่กับท่าน ไม่ใช่สันติสุฃที่มาจากการบัญญัติกฎหมายในรัฐสภา แต่เป็น สันติสุขซึ่งมาในแบบที่พระอาจารย์ตรัสไว้นั่นก็คือ โดยการเอาชนะสิงทางโลกทั้งหมด ขอให้พระผู้เป็นเจ้าทรงช่วยให้เราเข้าใจ และขอให้ท่านทราบว่าข้าพเจ้าเอย่างแน่นอน โดยไม่เคลือบแคลงสงสัยใด ๆ ว่า นี่คืองานของพระองค์ พระองค์’ทรงนำและชี้นำเรา ในทุกวันนี้เซ่นเดียวกับที่พระองค์ทรงท่ามาแล้วในทุกสมัยการประทานแห่งพระ กิตติคุณ17

ปัจจุบันนี้ ดังที่พยากรณ์ไว้ ดูเหมือนว่าทั้งโลกจะอยู่ในความโกลาหลและใจ มนุษย์จะท่าให้เขาไม่สมหวัง จริง ๆ แล้วเราต้องหวังว่าจะมืชีวิตอยู่ด้วยสันติสุขในใจ อันเกิดจากการใช้พระกิตติคุณของพระเยซูคริสตํในโลกแห่งความวุ่นวายและความ วิบัติ ใจไม่สมหวังส่วนหนึ่งอาจเกิดขึ้นกับมนุษย์เนื่องด้วยความผิดหวัง และอีกอย่าง หนึ่งคือ จะเกิดขึ้นในเวลาที่ความรักของมนุษย์เย็นซามากขึ้น ทุกวันนี้จึงต้องเรียก ร้องพลังของฐานะปุโรหิตที่อยู่ในเรา เราต้องรักคนที่ใช้เราอย่างดูหมิ่น และรักษา ความคิดของเรา ให้ดีดังที่อัครสาวกเปาโลแนะนำทิโมธี [ดู 2 ทิโมรี 1:7] หากเราไม่ ทำเซ่นนั้น จะถือว่าเราเป็นคนไร้ประสิทธิภาพ เราจะไม่ไต้รับการรับรองที่เพียงพอ เมื่อนั้นฝ่ายตรงข้าม ก็คงไมจ้าเป็นต้องให้เราฝ่าแนพระบัญญัติหรือละทิ้งความเชื่อ เพราะเราไต้ใช้กำลังไปจนหมดแล้ว18

ข้าพเจ้าคบค้าสมาคมกับนักธุรกิจคนหนึ่งในแอดแลนตา จอร์เจึย เขา…พยายาม ปลอบใจข้าพเจ้าเนื่องจากการขาดทุนย่อยยับ เขาดึงข้าพเจ้าไปยืนข้างๆ และพูดว่า “เอาละ ผมจะบอกอะไรคุณ ผมแก่กว่าคุณหลายปี สามสิบอื่ปีที่แล้วมีเสียงโทรศัพท์ ดังขึ้นที่ธนาคารตอนผมเป็นประธานแจ้งว่าภรรยาผมไต้รับบาดเจ็บสาหัสจากอุบัติเหตุ รถยนต์ ผมพูดขึ้นทันทีว่า ‘โอ้ พระผู้เป็นเจ้าคงไม่ยอมให้ภรรยาสุดที่รักของผมเป็น อะไรไปแน่ เธอซ่างแสนดี น่ารัก และงดงามเหลือเกิน, แต่ไม่ถึงหนึ่งชั่วโมง มีข่าว แจ้งมาอีกว่าเธอเสียชีวิตแล้ว ตอนนั้น หัวใจผมร้องออกมาว่า ‘ผมอยากตาย ผมไม่ อยากอยู่อีกแล้ว ผมอยากไต้ยินเสียงของเธอ, แต่ผมไม่ตาย และผมไม่ไต้ยินเสียง ของเธอ จากนั้นผมก็นั้งนึกตรึกตรองดู อะไรคือเจตนาของความอ้างว้างโดดเดี่ยว และความทุกฃํโศกที่ย่างกรายเข้ามาในเล้นทางของเราทุกคน? ความคิดหนึ่งบอกผม ว่า นี่เป็นการทดสอบสาหัสที่สุดที่เจ้าจะต้องเผชิญในชีวิต และหากเจ้าผ่านพ้นไปไต้ จะไม่มีการทดสอบใดเลยที่เจ้าจะผ่านพ้นไปไม่ไต้้”

ไม่ทราบว่าเพราะอะไร ขณะที่ข้าพเจ้าโดยสารเครื่องบินกลับบ้านในคืนนั้น มี สันติสุขเกิดขึ้น และเป็นครั้งแรกที่ข้าพเจ้าเริ่มเดินออกจากเงามีด และสิงที่อัครสาวก เปาโลพูดถึงพระอาจารย์ก็เข้ามาในความคิดข้าพเจ้า “ถึงแม้ว่าพระองค์ทรงเป็นพระ บุตร”—หมายถึงพระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า—“พระองค์ก็ทรงเรียนรู้ที่จะนอบน้อม ยอมเชื่อพีงโดยความทุกข์ลำบากที่พระองค์ไต้ทรงทน เมื่อพระเจ้าทรงทำให้พระเยซู เพียบพร้อมทุกประการแล้ว พระเยซูก็เลยทรงเป็นแหล่งกำเนิดแห่งความรอดนิรันดรส่าหรับคนทั้งปวงที่เชื่อพีงพระองค์” (สิบรู 5:8-9) หากท่านจะไตร่ตรองเรื่อง นี้โดยผ่านกระบวนการขัดเกลาของการพลัดพราก ความอ้างว้างโดดเดี่ยว และ ความพินาศย่อยยับ ข้าพเจ้าคิดว่าต้องมีบางสิงบางอย่างเกิดขึ้นก่อนเราจึงจะพร้อม รับมือกับการทดสอบอื่น ๆ ของชีวิต19

เราไต้รับเรียกสู่งานยากในยุคสมัยที,ยาก แต่ส่าหรับเราแต่ละคนแล้ว นึ่คงเป็นช่วง เวลาแห่งการผจญภัยครั้งใหญ่ การเรียนรู้ครั้งใหญ่ และความพึงพอใจครั้งใหญ่ แน่นอนว่าการห้าทายรอบต้านอันเนื่องจากสงคราม การสร้างเมืองใหญ่ การทำให้คำ สอนหย่อนยาน และความเส์อมถอยของครอบครัวมีมากพอๆ กับการข้ามทุ่งราบ การอดทนต่อความเข้าใจผิด และการสถาปนาอาณาจักรทั่วโลกท่ามกลางความยาก ลำบากในยุคปัจจุบัน ข้าพเจ้าสวดอ้อนวอนขอให้เราทำส่วนของเราในระหว่างการ เดินทางอยู่กับขบวน และนำขบวนเดินทางของศาสนาจักรขณะเข้าส่สถานที่สุดท้าย ที่เลือกไว้ นั่นคือ ที่ประทับของพระองค์20

ข้อ แนะน่า สำหรับการสืกษา และการสนทนา

  • อะไรเป็นที่มาของความปลอดภัยและสันติสุขของเราในช่วงเวลาแห่งความยาก ลำบาก? อะไรเพิ่มพลังท่านและให้สันติสุขแก่ท่านระหว่างการทดสอบในชีวิต?

  • ทำไมทุกคน ทั้งคนชอบธรรมและคนอธรรม จึงประสบกับการทดลองและความ ยากลำบาก?

  • ความยากลำบากเป็นพรแก่ชีวิตของเราในทางใด? การทดลองช่วยให้เราแข็งแกร่ง ขึ้นและ สามารถรับใช้พระเจ้าได้ดิขึ้นอย่างไร?

  • ทำไมเราจึงต้องวางใจใน “แผน” ของพระบิดาบนสวรรค์? เป็นเหมือนดินเหนียว ในพระหัตถ์ของพระเจ้าหมายถึงอะไร?

  • คอยพระเจำอย่างอดทนในยามทุกข์อากหมายถึงอะไร? ท่านเรียนรู้อะไรขณะที่ ท่านท่าเช่นนี้?

  • พระผู้เป็นเจ้าประทานสันติสุขเพื่อคํ้าจุนเราในยามยากลำบากอย่างไร?

อ้างอิง

  1. คำปราศรัยที่เทศกาลเสรีภาพมหาวิทยาลัย ‘บริคัม ยัง วันที่ 1 กรกฎาคม 1962 เอก สารสำคัญของห้องสมุดฮาโรลด’ ปี. ลี มหาวิทยาลัยบริคัม ยัง หน้า 6

  2. In Conference Report, Oct. 1967, 98; or Improvement Era, Jan. 1968, 26.

  3. The Teachings of Harold B. Lee, ed. Clyde J. Williams (1996), 171.

  4. The Teachings of Harold B. Lee, 69-70.

  5. The Teachings of Harold B. Lee, 187-88.

  6. Stand Ye in Holy Places (1974), 114-15.

  7. Stand Ye in Holy Places, 339.

  8. In Conference Report, Oct. 1942, 72-73.

  9. The Teachings of Harold B. Lee, 191.

  10. Education for Eternity, คำปราศรัยที่ สถาบันศาสนาซอลท์เลศ เรื่อง “Lectures in Theology: Last Message Series” วันท 15 มกราคม 1971 แฟ้มของห้องสมุด ประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซูดริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 6

  11. คำปราศรัยที่งานศพของมาเบล เฮล ฟอร์- ซีย’ วันที่ 24 ตุลาคม 1960 เอกสาร สำคัญของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนา จักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุค สุดท้าย หน้า 6

  12. คำปราศรัยกระตุ้นจิตวิญญาณที่มหาวิทยา - ลัยบริคัม ยัง วันที่ 15 พฤศจิกายน 1949 เอกสารสำคัญของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรซองพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซน ยุคสุดท้าย หน้า 10

  13. “ ’I Dare You to Believe’: Elder Lee Urges USAC Graduates Seek Spiritual Facts,” Deseret News, 6 June 1953, Church News section, 4.

  14. Education for Eternity, 7-8.

  15. “To Ease the Aching Heart,” Ensign, Apr. 1973, 2.

  16. “A Message to Members in the Service,” Church News, 2 Dec. 1972, 3.

  17. In Conference Report, Oct. 1973, 169, 171; or Ensign, Jan. 1974, 128-29.

  18. คำปราศรัยในการสัมมนาผู้แทนเขต วันที่ 3 เมษายน 1970 เอกสารสำคัญของแผนก ประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซู- ดริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 4

  19. The Teachings of Harold B. Lee, 54.

  20. The Teachings of Harold B. Lee, 408.