คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 1 : เส้นทางสู่ชีวิตนิรันดร์


บทที่ 1

เส้นทางสู่ชีวิตนิรันดร์

เราจะบรรลุเป้าหมายสูงสุดของเรา ซึ่งหมายถึงการกลับไปหาพระผู้เป็นเจ้า องค์นั้นผู้ประทานชีวิตแก’เราใต้อย่างไร?

บทนำ

ตลอดการปฏิบัติสาสนกิจของท่าน ประธานฮาโรลด์ บี.ลี เนนเสมอว่า จตประ สงค์หลักของพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ คือ การทำให้เราสามารถกลับไปยังที่ ประทับของพระบิดาบนสวรรค์โต้ ท่านมักจะสอนอยู่เสมอถึงความสำคัญของการ ดำเนินชีวิตด้วยศรัทธาจนบรรลุเบิาหมายอันสูงส่งของเรา

การปฏิบัติคาสนกิจของประธานลีตรงกับช่วงเวลาของการเริ่มต้นสำรวจอวกาศ ในทศวรรษ 1960 และต้นทศวรรษ 1970 เมื่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดในปี 1970 บีบบังคับให้นักบินอวกาศบนยานอพอลโล 13 กลับจากผิวดวงจันทร์สู่พื้นโลกก่อน กำหนดสิงที่ทำให้ประธานลีรู้สีกประทับใจคือ การเอาใจใส่อย่างจริงจังต่อดำแนะนำ และการปฏิบัติที่แน่ซัดซึ่งจำเป็นต่อการนำมนุษย์กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัย จากประ สบการณ์นี้ ท่านมองเห็นความคล้ายคลึงกันของศรัทธาและการเชื่อฟ้งซึ่งจำเป็นต่อ วิธีการที่เราจะเดินทางผ่านชีวิตมตะไปยังบ้านบนสวรรค์ของเราไต้ ในคำปราศรัยการ ประชุมใหญ่สามัญเดือนตุลาคม 1970 ท่านใช้เรื่องยานอพอลโล 13 ชื่ออควาเริยส เพื่ออธิบายความสำคัญของการคงอยู่ในเส้นทางที่พระเจ้าทรงกำหนดให้เราเดินตาม

ข่าวสารของประธานลีเน้นอยู่เสมอว่า เป็าหมายสูงสุดของการเดินทางในชีวิตมตะ คือ การกลับไปหาพระบิดาบนสวรรค์ของเรา ข่าวสารเหล่านี้จะช่วยให้เราไต้เข้าใจว่า “การกระทำทุกอย่างในชีวิตของเรา และการตัดสินใจทุกอย่างที่เราท่า เป็นไปเพื่อ ความก้าวหน้าของชีวิต ซึ่งจะอำนวยให้เราไต้เข้าสู่ที่ประทับของพระเจ้าพระบิดาบน สวรรค์ของเรา”1

ในบทนี้ ประธานลีกล่าวพอสังเขปถึงเส้นทางที่เราจะกลับสู่ที่ประทับของพระบิดา บนสวรรค์โต้อย่างสันติและปลอดภัย

ภาพ
Christ calling apostles

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ในยามทุก’ยยาก เราจะได้รับการนำทางไปสู่ความปลอดภัยได้อย่างไร?

หลายเดือนก่อน ผู้ซมและผู้ฟังหลายล้านคนทั่วโลกต่างเฝืารอเที่ยวบินอันตราย ซองยานอพอลโล 13 อย่างใจจดใจจ่อและด้วยความกระวนกระวายใจ ดูเหมือนทั้ง โลกจะสวดอ้อนวอนเพื่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างเดียวกัน นั่นดือ ซอให้นักบินผู้กล้าหาญ ทั้งสามคนกลับสู่พื้นโลกโดยปลอดภัย

เมื่อหนึ่งในสามนักบินอวกาศรายงานข่าวอันน่าตื่นตระหนกด้วยนํ้าเสียงที่พยายาม ควบคุมให้เป็นปกติว่า “มีเหตุระเบิด!” ศูนย์ควบคุมการสำรวจอวกาศในฮูสตันก็ ระดมนักวิทยาศาสตร์ทุกคนที่ผ่านการแกอบรมทางเทคนิคมาแล้วโดยทันที คนเหล่า นี้คือผู้ที่ร่วมวางแผนมานานหลายปีในรายละเอียดทุกซั้นตอนของการสำรวจคนั้งนั่น

เวลานี้ ความปลอดภัยของนักบินทั้งสามขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่สำคัญยิ่งสองประการ อันได้แก่ ความรู้ความชำนาญที่เชื่อถือได้ของเจ้าหน้าที่เทคนิคในศูนย์ควบคุมการ สำรวจอวกาศที่ฮูสตัน และการที่นักบินทั้งสามคนในยานอควาเรียสเชื่อฟังคำแนะน่า ทุกข้อของเจ้าหน้าที่เทคนิคอย่างเคร่งครัด เนื่องจากเจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าใจป็ญหา ของนักบินอวกาศ เขาจึงมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเป็นผู้หาวิธีแก่ไขที่จำเป็น การ ตัดสินใจของเจ้าหน้าที่เทคนิคต้องถูกต้องแม่นยำ มิฉะนั้นแล้วยานอควาเรียสก็จะมา ใม่ถืงแผ่นตินโลก และห่างจากจุดเป็าหมาอออกไปหลายพันกิโลเมตร

เหตุการณ์อันน่าระทึกใจครั้งนี้คล้ายคลึงอยู่บ้างกับช่วงเวลา [อันยุ่งยาก] เหล่านี้ที่ เรามีชีวิตอยู่ … หลายคนอกสั่นขวัญหายเมื่อเห็นและได้ยินเหตุการณ์ที่ยากจะเชื่อได้ ซึ่งเกิดขึ้นทั่วโลก อาทิ กลอุบายทางการเมือง สงครามและความขัดแย้งทั่วทุกหัว ระแหง ความตับอกตับใจของพ่อแม่ผู้กำลังพยายามเผชิญกับปีญหาสังคมที่สํอเค้า ว่าจะทำลายความตักดสิทขึ้ของบ้าน ความตับอกตับใจของเด็กและเยาวชนขณะ เผชิญกับสิงที่ทำทาย ศรัทธาและดืลธรรมจรรยาของตนเอง

หาก ท่าน เพียงแค่เต็มใจฟังและเชื่อฟัง เซ่นเดียวกับนักบินอวกาศบนยานอควา- เรียส ในที่สุดท่านและทุกคนในครอบครัวจะได้รับการนำทางไปสู่ความปลอดภัยและ ความนั่นคงในวิธีของพระเจ้า …

จากเหตุการณ์ซองอพอลโล 13 … ตอนนี้ข้าพเจ้าจะใช้เวลาสักเล็กน้อยเพื่อสรุป คร่าว ๆ ถึงแผนที่บรรยายไว้อย่างดืยิ่งเกี่ยวกับการเชื่อฟัง ซึ่งความรอดของจิตวิญญาณ ทุกดวงขึ้นอยู่กับแผนนั้นในการเดินทางผ่านชีวิตมตะไปสู่จุดหมายปลายทางสุดท้าย ของเขา นั่นดือ การกสับไปหาพระผู้เป็นเจ้าองค์นั้นผู้ประทานชีวิตให้เขา …

อะไรคือจุดประสงค์ของแผนของพระบิดาบนสวรรค์?

แผนนี้มีซื่อระบุไว้และจุดประสงค์หลักของแผนมีอธิบายไว้อย่างชัดเจนในคำประกาศต่อศาสนาจักรเมื่อเริ่มต้นสมัยการประทานนี้ของพระกิตติคุณ

พระเจ้าทรงประกาศมากว่าหนึ่งศตวรรษแล้วว่า

“และแม้เซ่นนั้น เราส่งพันธสัญญาอันเป็นนิจของเรามาในโลก ที่จะเป็นความ สว่างแก่โลก และที่จะเป็นธงให้ผู้คนของเรา และให้คนต่างชาติแสวงหามัน และที่จะ เป็นทูตอยู่หน้าเราเพื่อเตรียมทางไว้ต่อหน้าเรา” (ค.พ. 45:9)

ดังนั้น แผนนี้จึงเป็นดังพันธสัญญา ซึ่งบอกเป็นนัยถึงข้อตกลงที่มีผู้เกี่ยวข้องมาก กว่าหนึ่งคน เป็นมาตรฐานสำหรับคนที่พระเจ้าทรงเลือกและเพื่อให้ชาวโลกไต้ประ โยชน์จากแผนดังกล่าว จุดประสงค์ของแผนนี้คือ เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ ทั้งปวง และเพื่อเตรียมโลกไว้ต้อนรับการเสด็จมาดเงที่สองของพระเจ้า

“ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดแผนนี้ในโลกก่อนเกิดคือลูกทางวิญญาณทั้งหมดของ พระบิดาบนสวรรค์ชองเรา พระคัมภีร์เก่าแก่ที่สุดของเรา จากข้อเขียนของศาสดา สมัยโบราณคือเอบราแฮมและเยเรมีย์ ยืนยันด้วยว่า พระผู้เป็นเจ้าหรือเอโลสิม ประทับอยู่ที่นั้น เยโฮวาห้ พระบุตรหัวปีของพระองค์ เอบราแฮม เยเรมีย์ และผู้มี สถานะยิ่งใหญ่อีกหลายคนก็อยู่ที่นั้นด้วย

ดวงความรู้แจ้งทั้งหมดที่ถูกจัดวางไว้ก่อนโลกเป็นมา ซึ่งกลายเป็นวิญญาณ รวม ทั้งดวงที่สง่าและใหญ่ยิ่งหลายดวงซึ่งผลงานและความประพฤติของเขาในโลกก่อน เกิด ทำให้เขามีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเป็นผู้ปกครองและผู้นำในการทำให้แผน นิรันดร์นี้บรรลุผล ก็อยู่ที่นั้นด้วย …

ภายใต้การชี้แนะของพระบิดา และโดยการนำของพระเยโฮวาห้ แผ่นดินโลกและ ทุกสิงที่เกี่ยวข้องไต้รับการจัดวางและถูกสร้างขึ้น พระองค์ทรง “รับสั่ง” พระองค์ ทรง “เฝืาดู” และทรง “เตรียม” แผ่นดินโลก ทรง “ปรีกษากันในบรรดาพวก พระองค์” เกี่ยวกับการนำชีวิตทุกรูปแบบมายังแผ่นดินโลกและทุกสิง รวมทั้งมนุษย์ และเตรียมแผ่นดินโลกไว้เพื่อดำเนินแผนดังกล่าวให้บรรลุผล ซึ่งเราจะเปรียบไต้กับ พิมพ์เขียว โดยที่ลูกของพระผู้เป็นเจ้าจะไต้รับการอบรมสั่งสอนในทุกเรื่องที่จำเป็น ต่อจุดประสงค์อันดักดสิฑธชองการทำให้เกิด “รัศมีภาพของพระผู้เป็นเจ้า” และ เป็นโอกาสที่จึตวิญญาณทุกดวงจะไต้รับ “ความเป็นอมตะและชีวิตนิรันดร์” ชีวิตนิรันดรหมายถึงการมีชีวิตอันเป็นนิจในโลกชั้นสูงที่ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าและพระคริสต์ ประทับโดยทำทุกสิงที่เราไต้รับบัญชา (ดู เอบราแฮม 3:25)

อะไรคือจุดประสงค์ของแผนของพระบิดาบนสวรรค์?

แผนแห่งความรอดประกอบด้วยหลักธรรมพิเศษสามประการคือ

หนึ่ง จิตวิญญาณทุกดวงได้รับสิทธิพิเศษในการเลือกด้วยตนเอง จะเลือก “เสรีภาพ และชีวิตนิรันดร์” โดยการเชื่อฟังกฎของพระผู้เป็นเจ้า หรือเลือก “การเป็น เชลยและ ความตาย” เกี่ยวกับเรื่องทางวิญญาณอันเนื่องจากการไม่เชื่อฟัง (ดู 2 นิไฟ 2:27)

อำเภอใจเป็นของประทานยิ่งใหญ่ที่สุดที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบให้แก่มนุษย์รอง จากชีวิต ด้วยเหตุนี้จึงเป็นโอกาสดียิ่งสำหรับลูกๆ ของพระผู้เป็นเจ้าที่จะเจริญก้าว หน้า ในสถานะที่สองนี้ของชีวิตมตะ ผู้นำที่เป็นศาสดาในทวีปนี้อธิบายเรื่องด้งกล่าว ให้ลูกชายฟังตามที่บันทึกไวํในพระคัมภีร์โบราณว่า เพื่อนำมาซึ่งจุดมุ่งหมายอันเป็น นิรันดร์เหล่านี้ของพระเจ้า จะต้องมีการตรงกันข้าม อย่างหนึ่งคือการซักจูงโดย ศวามดี และอีกอย่างหนึ่งโดยความชั่ว หรือพูดตามภาษาพระคัมภีร์ว่า “ … ผลไม้ต้อง ห้ามเป็นการตรงกันข้ามกับต้นไม้แห่งชีวิต อย่างหนึ่งหวานและอีกอย่างหนึ่งขม” บิดาท่านนี้ อธิบายเพิ่มเติมว่า “ด้งนั้นองค์พระผู้เป็นเจ้าจึงประทานให้มนุษย์เพื่อเขา จะกระทำด้วยตนเอง ด้งนั้นมนุษย์จะกระทำด้วยตนเองไม่ได้นอกจากจะเป็นว่าเขา ถูกซักจูงโดยอย่างหนึ่งหรืออีกอย่างหนึ่ง” (2 นิไฟ 2:15-16)

หลักธรรมพิเศษประการที่สองในแผนอันศักดี้สิทธี้ด้งกล่าวครอบคลุมถึงความจำ เป็นของการมีพระผู้ช่วยให้รอด ซึ่งโดยการซดใช้ของพระองค์ พระบุตรที่พระผู้เป็น เจ้าทรงโปรดปรานมากที่สุดจึงกลับเป็นพระผู้ช่วยให้รอดของเรา ด้ง “พระเมษโปดก ผู้ทรงถูกปลงพระชนม์ … ตั้งแต่แรกทรงสร้างโลก” (วิวรณ์ 13:8) ตามที่เป็ดเผย แก่ยอห้นบนเกาะป็ทมอส [ศาสดาลีไฮ] อธิบายว่า ภารกิจของพระบุตรของพระผู้ เป็นเจ้าคือ “ทรงวิงวอนแทนลูกหลานมนุษย์ทั้งหมด และคนที่เชื่อในพระองค์จะ รอด” (2 นิไฟ 2:9)

เราได้ยินมามากจากบางคนที่มีความเข้าใจอันจำกัดว่ามนุษย์จะรอดได้โดยพระคุณ แค่อย่างเดียว ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีคำอธิบายของศาสดาอีกท่านหนึ่งเพื่อช่วยให้เข้าใจ คำสอนที่แห้จริงเรื่องพระคุณ ด้งที่ท่านอธิบายไวํในก้อยคำที่เปียมไปด้วยความหมายคังนั้

“เพราะ” ศาสดาทำนนี้กล่าว “พวกเราทำงานอย่างพากเพียรที่จะเชียน ที่จะซัก ซวนลูกหลานของเราและพื่ม้องของเราด้วย ให้เชื่อในพระคริสต์ และให้ปรองดองกับ พระผู้เป็นเจ้า เพราะเรารู้ว่าแม้เราจะทำได้ทุกสิง เป็นโดยพระคุณที่เรารอด” (2 นิไฟ 25: 23) ตามจริงแล้ว เราได้รับการไถ่โดยโลหิตแห่งการซดใช้ของพระผู้ช่วยให้รอด ของโลก ก็ต่อเมื่อแค่ละคนได้ทำจนสุดความสามารถแล้วเพื่อช่วยให้ตัวเขาเองรอด

หลักธรรมพิเศษประการที่สามในแผนแห่งความรอด คือ ข้อกำหนดที่ว่า “มนุษยชาติทั้งมวลจะรอดโดยการปฏิบัติตามกฎและพิธีการแห่งพระกิตติคุณ” (หลักแห่ง ความเชื่อข้อ 3) กฎและพิธีการเบื้องด้นเหล่านี้ที่ถ่อให้เกิดความรอดมีอธิบายไว้อย่าง ซัดเจน ตังนี้

หนึ่ง ศรัทธาในพระเจ้าพระเยซูคริสต์

สอง การกลับใจจากบาป หมายถึงการหันไปจากบาปแห่งการไม่เชื่อฟังกฎของ พระผู้เป็นเจ้า และไม่กลับไปทำเช่นทั้นอีก พระเจ้าตรัสไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับเรื่อง นี้ว่า “ … จงไปตามทางของเจ้าและอย่าทำบาปอีก แค่กับคนที่ทำบาป [แน่นอนว่า หมายถึง กลับไปทำบาปที่เขากลับใจแล้วซํ้าอีก] บาปเก่าๆ จะกลับคืนมา พระเจ้า พระผู้เป็นเจ้าของเจ้าตรัส” (ค.พ. 82:7)

สาม บัพติศมาโดยนี้าและพระวิญญาณ พระอาจารย์ทรงสอนนิโคเดมัสว่า โดย พิธีการนี้เท่าทั้นที่มนุษย์จะเห็นหรือเข้าสู่อาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าได้ (ดู ยอหัน 3:4-5)

พระผู้ช่วยให้รอดผู้ทรงฟ้นคืนพระชนม์ทรงยํ้าคำสอนเดียวกันนี้ต่อสิทธิซนใน ทวีปนี้ ชื่งดูเหมีอนจะเป็นข่าวสารสุดทำยที่พระองต์ประทานแก่สานุคืษย์ พระอาจารย์ ทรงสอนสิทธิชนที่ชื่อสัตย์ว่า “ไม่มีสิงที่ไม่สะอาดเข้าในอาณาจักรของพระองค์ได้ ฉะนั้น ไม่มีสิงใดเข้าในความพักผ่อนของพระองค์!ด้ นอกจากคนที่ล้างอาภรณ์ของ เขาแล้ว ในเลอดของเรา เพราะศรัทธาของเขา และการกลับใจจากบาปฑงหมดของ เขาและความชื่อสัตย์จนถึงที่สุดของเขา

“แล้วนึ่คือบัญญัติ: จงกลับใจ เจ้าทั้งหลายที่สุดของแผ่นดินโลก และมาหาเรา และรับบัพติศมาในนามของเรา เพื่อเจ้าจะถูกชำระให้บริสุทธโดยการรับพระวิญญาณ บริสุทธี้ เพื่อจะยืนอยู่โดยไม่มีมลทินต่อหน้าเราในวันสุดท้าย

“ตามจริง ตามจริงแล้ว เรากล่าวกับเจ้าว่า นึ่คือกิตติคุณของเรา … ” (3 นีไฟ 27: 19-21)

พรอะไรสัญญาไว้กับผู้ที่ซื่อสัตย์?

หากลูกของพระเจ้า ซึ่งได้แก่ทุกคนที่อยู่บนโลกนี้ ไม่ว่าจะมีสัญชาติ สีผิว หรือ ศาสนาใดก็ตาม จะเอาใจใส่เสียงร้องเรียกของผู้น่าข่าวสารที่แท้จริงแห่งพระกิตติคุณ ของพระเยซูคริสต์ เซ่นเดียวกับที่นักบินอวกาศสามคนบนยานอควาเริยสเอาใจใส่สิง ที่เจ้าหน้าที่เทคนิคผู้ผ่านการัฮกฝนมาแล้วที่ศูนย์ควบคุมการสำรวจอวกาศบอกเขา ในชั่วโมงคับขัน เมื่อถึงเวลานั้น ทุกคนจะเห็นพระเจ้าและรู้ว่าพระองค์ทรงเป็นอยู่ ตามที่พระเจ้าทรงสัญญาไว้ …

คำสัญญาถึงความรุ่งโรจน์ซึ่งรอคอยผูซึ่อสัตย์จนถึงที่สุดมืบรรยายไว้อย่างขัดเจน ในคำอุปมาของพระอาจารย์เรื่องบุตรหายไป สำหรับบุตรที่ซึ่อสัตย์และเห็นค่าสิทธิ บุตรหัวปีของตนเอง บิดาผูซึ่งในบทเรียนของพระอาจารย์คือพระบิดาและพระผู้เป็น เจ้าของเรา ทรงสัญญากับบุตรที่ซึ่อสัตย์ผู้นี้ว่า “ลูกเอย เจ้าอยู่กับเราเสมอ และ สิงของทั้งหมดของเราก็เป็นของเจ้า” (ลูกา 15:31)

ในการเป็ดเผยผ่านศาสดายุคปีจจุบัน พระเจ้าทรงสัญญากับผู้ที่ซึ่อสัตย์และเชื่อ ฟังในทุกวันนี้ว่า “ … สารพัดสิงที่พระบิดาของเรามีย่อมจะประทานแก่เขา” (ค.พ. 84:38)

หรือเราจะเป็นเหมือนคนบ้าบิ๋นที่อยู่บนทางนี้าเหนือนี้าตกไนแอการาและกำลังเข้า ใกล้อันตรายของสายนี้าอันเชี่ยวกรากมากขึ้นทุกที? ถึงแม้ผู้ดูแลจะ เตือนใหัไปยังที่ ปลอดภัยก่อนจะสายเกินแก้ แต่เขาก็ไม่สนใจคำเตือนเหล่านั้นเลย หนำซํ้ายังหัวเราะ เริงร่า เต้นรำ ราสุราเมรัย เย้ยหยัน สุดท้ายก็พลันจบชีวิต

และนี่จะเป็นซะตากรรมของนักบินสามคนบนยานอดวาเรียสหากเขาไม่เอาใจใส่ แม้คำแนะนำที่เล็กน้อยที่สุดจากศูนย์ฮูสต้น ชีวิตของเขาขึ้นอยู่กับการเชื่อฟังกฎเบื้อง ต้นซึ่งปกครองและควบคุมพลังอำนาจของจักรวาล

พระเยซูทรงกันแสงเมื่อทอดพระเนตรเห็นซาวโลกในสมัยของพระองค์ชื่งดูเหมือน จะบ้าคลํ่งไปแล้วและเย้ยหยันคำขอรัองของพระองค์อย่างไม่หยุดหย่อนเมื่อทรงบอก ให้เขามาหาพระองค์ตาม “ทางตรงและแคบ” ทางซึ่งกำหนดไว้อย่างขัดเจนในแผน แห่งความรอดนิรันดร์ฃองพระผู้เป็นเจ้า

ข้าพเจ้าอยากให้เราไต้ยินคำขอร้องของพระองค์อีกครั้งในวันนี้เมื่อพระองค์ทรง ร้องออกมาในคราวนั้นว่า “โอ เยรูซาเล็ม ๆ ที่ไต้ฝาบรรดาผู้เผยพระวจนะ และเอาหิน ขว้างผู้ที่รับใข้มาหาเจ้าถึงตาย เราใคร่จะรวบรวมลูกของเจ้าไว้เนือง ๆ เหมือนแม่ไก่ กกลูกอยู่ไต่ปีกของมัน แต่เจ้าไม่ยอมเลยหนอ” (มัทธิว 23:37)

โอ้ ข้าพเจ้าอยากให่โลกเห็นภาพอันคักดี้สิทธของพระอาจารย์ที่ทรงเรียกเราใน ทุกวันนี้ดังเซ่นที่ทรงเรียกซาวเยรูซาเล็มในคำอุปมาอีกเรื่องหนึ่งที่ให้ไว้กับยอห์นผู้ เป็ดเผยดังนี้

พระอาจารย์ตรัสว่า “นี่แน่ะ เรายืนเคาะอยู่ที่ประตู ล้าผู้ใดได้ยืนเสียงของเราและ เปิดประตู เราจะเข้าไปหาผู้นั้นและจะรับประทานอาหารร่วมกับเขา และเขาจะรับ ประทานอาหารร่วมกับเรา

“ผู่ใดมีชัยชนะ เราจะให้ผู้นั้นนั่งกับเราบนพระที่นั้งของเรา เหมือนกับที่เรามีชัย ชนะแล้ว และได้นั่งกับพระบิดาของเราบนพระที่นั้งของพระองค์” (วิวรณ์ 3:20-21)

ทั้งนี้ทั้งนั้น นี่คือแผนแห่งความรอดตามที่ศาสนาจักรที่แห้จริงสอน ซึ่งมีรากฐาน อยู่บนอัครสาวกและศาสดา โดยมีพระคริสต์ พระเจ้า ทรงเป็นคืลามุมเอก (เอเฟชัส 2:20) โดยแผนนี้เท่านั้นที่สันติสุขจะเกิดขึ้นได้ไม่ใช่อย่างที่โลกให้ แค่อย่างที่พระเจ้า จะทรงให้แก่คนที่เอาชนะสิงต่าง ๆ ของโลก เช่นเดียวกับที่พระอาจารย์ทรงเอาชนะ

“ในผู้อื่นความรอดไม่มีเลย ด้วยว่านามอื่นซึ่งให้เราทั้งหลายรอดได้ ไม่ทรงโปรด ให้มีในท่ามกลางมนุษย์ทั่วใต้ฟ้า” (กิจการ 4:12) …

การกระทำของเราในแต่ละวันจะผลักดันเราไปสู่ชีวิตนิรันดร์ไดัอย่างไร?

ในการประชุมเมื่อเร็วๆ นี้ ข้าพเจ้าได้ฟังประจักษ์พยานอันน่าชื่นใจของหญิงสาว ผู้หนึ่ง คุณพ่อของเธอป่วยเป็นโรคที่แพทย์ลงความเห็นว่ารักษาไม่หาย เข้าวันหนึ่ง หลังจากคืนที่เจ็บปวดทุกข์ทรมาน คุณพ่อที่ป่วยหนักท่านนี่ได้พูดกับภรรยาด้วย ความรู้สีกจากส่วนลึกของหัวใจว่า “วันนี้ผมรู้สีกขอบพระทัยพระผู้เป็นเจ้าเป็นอย่าง มาก” “สำหรับอะไรหรือคะ” เธอถาม เขาตอบว่า “สำหรับสิทธิพิเศษที่พระผู้เป็น เจ้าประทานให้ผมได้อยู่กับคุณอีกวันหนึ่ง”

วันนี้ ข้าพเจ้าปรารถนาด้วยสุดใจว่าทุกคนที่ได้ยืนเสียงออกอากาศครั้งนี้จะขอบ พระทัยพระผู้เป็นเจ้าด้วยเช่นกันสำหรับอีกวันหนึ่ง! สำหรับอะไรหรือ? สำหรับโอกาส ที่ได้จัดการเรื่องบางเรื่องที่ยังทำไม่เสร็จ จงกลับใจ แกํไขความผิดบางอย่างเป็น อิทธิพลดีให้กับลูกที่ดื้อรั้นบางคนตลอดไป ยื่นมือออกไปช่วยเหลือคนที่ร้องขอ ความช่วยเหลือ สรุปก็คือ จงขอบพระทัยพระผู้เป็นเจ้าที่มีเวลาอีกวันหนึ่งเพื่อเตรียม พบพระองค์

อย่าพยายามดำเนินชีวิตเผื่อวันข้างหน้ามากเกินไป จงแสวงหาพลังเพื่อจะแก่ไข ปึญหาของวันนึ่ได้ ในดำเทศนาบนภูเขา พระอาจารย์ทรงเตือนว่า “เหตุฉะนั้น อย่า กระวนกระวายถึงพรุ่งนี้ เพราะว่าพรุ่งนี้คงมีการกระวนกระวายสำหรับพรุ่งนี้เอง แต่ละวันก็มีทุกข์พออยู่แล้ว” (มัทธิว 6:34)

จงทำจนสุดความสามารถและปล่อยที่เหลือไว้กับพระผู้เป็นเจ้าพระบิดาของเรา ทุกคน การพูดว่าข้าพเจ้าจะทำดีที่สุดเท่านั้นยังไม่พอ แค่ต้องพูดว่า ข้าพเจ้าจะทำทุก สิงที่อยู่ภายในอำนาจของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะทำทุกสิงที่จำเป็น2

ข้อแนะนำสำหรับการสืกษๆและการสนทนา

  • แผนแห่งความรอดของพระบิดาแสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ที่พระองค์ ทรงมีต่อเราในทางใด?

  • ความเข้าใจเรื่องแผนแห่งความรอดนำสันติสุขมาสู่ชีวิตของท่านอย่างไร?

  • ทำไมอำเภอใจจึงจำเป็นหากเราจะกลับไปหาพระผู้เป็นเจ้า? ทำไมการซดใข้จึง จำเป็น? ทำไมเราจึงต้องปฏิบัติตามหลักธรรมและพิธีการของพระกิตติคุณ?

  • การเบี่ยงเบนไปจากเส้นทางที่พระบิดาบนสวรรค์ทรงวางไว่ให้เราเดินตามอาจจะ มีผลอย่างไรบ้าง?

  • บางครั้งสิงใดทำให้ผู้คนมองไม่เห็นเป้าหมายที่จะกลับไปยังที่ประทับของพระ บิดาบนสวรรค์? เราจะให้คำแนะนำอะไรบ้างแก่สมาซิกในครอบครัวและคน อื่นๆ ที่หลงทาง?

  • ทำไมจึงเป็นสิงสำคัญที่จะรับใช้ทุกวัน? แสดงความกตัญญูทุกวัน? กลับใจและ พยายามเอาชนะความอ่อนแอ? การทำสิงเหล่านี้ทุกวันช่วยให้เราเตรียมพบพระ ผู้เป็นเจ้าไต้อย่างไร?

อ้างอิง

  1. In Conference Report, Oct. 1946, 145.

  2. In Conference Report, Oct. 1970, 113-17; or Improvement Era, Dec. 1970, 28-30.